ทักษะจำเป็นในการบริหารงานของคณะกรรมการบริหาร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

Main Article Content

HASAN AKRIM DONGNADENG

บทคัดย่อ

คณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษา เป็นตัวแทนของนักศึกษาในสถาบันการศึกษา ที่ดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมนักศึกษา จำเป็นต้องมีทักษะสำคัญในการบริหารงาน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะจำเป็นในการบริหารงานของคณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกนักศึกษาที่เป็นคณะกรรมการบริหารขององค์การบริหารนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง จำนวน 10 คน ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารนักศึกษา รองนายกองค์การบริหารนักศึกษา เลขานุการองค์การบริหารนักศึกษา และคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ประกอบด้วย ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายบำเพ็ญประโยชน์ ฝ่ายศาสนาและวัฒนธรรม ฝ่ายพัสดุ และอนุกรรมการองค์การบริหารนักศึกษา จำนวน 3 คน นำผลการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์แก่นสาระ ผลการวิจัย พบว่า ทักษะที่จำเป็นในการบริหารงานของคณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษาหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตตรัง ประกอบด้วย 7 ทักษะหลัก ได้แก่ การทำงานเป็นทีม การสื่อสาร การประสานงาน การวางแผน การบริหารโครงการ การเป็นผู้นำ และมนุษย์สัมพันธ์ งานวิจัยนี้เสนอแนะว่าก่อนที่ผู้นำนักศึกษาจะเข้ามาปฏิบัติงานในองค์การบริหารนักศึกษา ควรมีการจัดอบรมทักษะสำคัญทั้ง 7 ทักษะข้างต้นเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน

Downloads

Article Details

How to Cite
DONGNADENG, H. A. (2020). ทักษะจำเป็นในการบริหารงานของคณะกรรมการบริหาร องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2(2), 55–85. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoskru/article/view/243731
บท
บทความวิจัย

References

กัญญรัตน์ ชินวรวิทิต. (2558). มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร.สืบค้นเมื่อ 9
เมษายน 2563, จาก http://www.kruinter.com/file/
95820150922214552-[kruinter.com].pdf
กอบกาญจน์ วิเศษรัมย์. (2556). ทักษะเพื่อการสื่อสาร.พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานครฯ: โอ. เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
กิตติทัช เขียวฉะอ้อน และ ธีระวัฒน์ จันทึก. ( 2560).การทำงานเป็นทีมสู่
การเพิ่มประสิทธิผลในการทำงาน. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563,
จาก https://dtc.ac.th/wp-content/uploads/2019/05/22.กิตติรานีย์ ขวงพร. (2558). การพัฒนาแบบวัดทักษะภาวะผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ของ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญา
บัณฑิต.สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://cuir.car.chula.ac.th/handle/.
กรกนก บุญชูจรัส และ ภัทรพล มหาขันธ์. (2553).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์
ต่อการทำงานเป็นทีมของพัฒนากรในพื้นที่ความรับผิดชอบของศูนย์
ศึกษาและพัฒนาชุมชน จังหวัดเพชรบุรี.สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน
2563, จาก file:///C:/Users/User/Downloads/7210-
Article%20Text-14308-1-10-20130319.pdf
กรรณิการ์ อุตตะทอง. (2561). การวางแผนการปฏิบัติงานในองค์กรยุค 4.0
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2563, จาก
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/
article/view/240295.
กรวิภา งามวุฒิวงศ์. ( 2559).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมภายนใน
สำนักอำนวยการสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นเมื่อ 10
เมษายน 2563,จากhttp://ethesisarchive.library.tu.ac.th
/thesis/2016/TU_2016_5803010387_5488_5120.pdf x
เกรียงไกร ธุระพันธ์. (2558). การพัฒนาสมรรถนะหลักของผู้นำนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประเทศ
ไทย. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.tci-
thaijo.org/index.php/researchjournal-lru/article/view/
80125.
จินตวีร์ เกษมสุข.( 2557).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการสื่อสารระหว่าง
บุคคล.สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน 2563,
จาก http://aritbooks.nrru.ac.th/uploadfiles/books/2-
2018-08-30-08-39-12.pdf
ชมพูนุท แท่นคำ. (2555).ผลกระทบของมนุษยสัมพันธ์ที่ดีที่มีต่อ
ประสิทธิภาพการทำงาน. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2563 จาก
http://mahalib.msu.ac.th/svit/index.php/dublin.
php?ID=7084#.XtpiCDozbIU
ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์. (2553). การสื่อสารระหว่างบุคคล.(พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: ณ ฌาน.
ธิดา โมสิกรัตน์. (2557). ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Language for
communication). พิมพ์ครั้งที่ 19. กรุงเทพฯ: แสงจันทร์การพิมพ์.
นพลักษณ์ หนักแน่น. (2555). การพัฒนากลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำของ
นิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ระดับปริญญาบัณฑิต ระหว่าง
พ.ศ.2555-2564. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2563, จาก
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36749.
นฤมล จิตรเอื้อ และ ประสพชัย พสุนนท. (2561).การใช้เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลงานวิจัยเพื่อการศึกษาการดำเนินการที่เป็นเลิศของ สถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2563, จาก file:///C:/Users/User/Downloads/144039-Article%20Text- 383894-1-10-20180904.pdf
รัชนี วัฒนภิรมย์. (2553) .ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโครงการกับความ
พึงพอใจการปฏิบัติงานของข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พิจักษณา วงศาโรจน์. (2558). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่พึงประสงค์. สืบค้น
เมื่อ 4 เมษายน 2563, จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream
/123456789/1186/1/pijuksana.vong.pdf
วิจิตร ศรีสอ้าน. (2552). คุณสมบัติของผู้บริหารที่มีผลต่อความสำเร็จ.
เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
สกุลรัตน์ แจ้งหิรัญ. (2561). การสื่อสารระหว่างบุคคลมีผลต่อการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าที่ตำรวจนครบาล. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2563,
จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/3592/1/
sakunrat_jane.pdf
สุชาติ ประชากุล. (2558).เทคนิคการประสานงาน. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน
2563 จาก file:///C:/Users/Advice/Downloads/133412-
Article%20Text-352391-1-10-20180709.pdf
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550), ภาวะความเป็นผู้นำ.กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
สัมมนา สีหมุ่ย. (2553). ลักษณะการปฏิบัติงานของบุคลากรในแต่ละด้าน
ทำให้ทราบถึงระดับประสิทธิภาพของการทำงานเป็นทีม. สืบค้นเมื่อ
18 มีนาคม 2563, จาก
http://eng.sut.ac.th/ce/struc/12SUMANA/SUMMANA.pdf.


สมพร สุทัศนีย์. (2554). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน.สืบค้นเมื่อ 12
เมษายน 2563, จาก
http://elearning.psru.ac.th/courses/195/Chapter6.pdf.