THE STUDY OF LEARNING ACHIEVEMENT AND SATISFACTION OF STUDENT IN THE DEPARTMENT OF PUBLIC ADMINISTRATION, FACULTY OF HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES, MUBAN CHOMBUENG RAJABHAT UNIVERSITY
Main Article Content
Abstract
The purpose of this study aimed (1) to study student learning achievement of the students (2) to study student of a satisfaction of students (3) to compare individual factors which effect on a learning achievement of students and (4) to investigate a relationship between a learning achievement and personal satisfaction of a group of samples. The sample group consisted of this study was 208 students who study in program of public administration Faculty of Humanities and Social Sciences, Muban Chombueng Rajabhat University. The samples of the study were selected by using simple random. Moreover, a tool of the study was a checklist and used a statistical analysis, such as a frequency, an average (), standard deviation (S.D.), T-test, F-test and Pearson correlation coefficient.
The research findings were as follows: (1) the overall average of learning achievement, was at good level (= 3.70, S.D. = .511). (2) The overall satisfaction of students throughout the process of teaching method, was at good level (= 3.78, S.D. = .554). (3) The sample group has differences in gender variables, year level, Expenditures incurred during studying per month. Occupation of parents and different living characteristics there are different opinions on academic achievement factors. With statistical significance at the .05 level. In addition,
The samples in the GPA Income received from parents/part-time work per month Students' home status, number of siblings, status of parents and traveling to university have an opinion that different personal factors do not affect academic achievement. and (4) the relationship between a academic achievement and the satisfaction of the students overall, there is a high level of positive correlation (r = .793 (**), Sig. = .000) with statistical significance of .01.
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ
References
กนกพร บุญจูบุตร และคณะ. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค TGT วิชาการวิจัยดำเนินงานเบื้องต้น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
จันทิมา เมยประโคน. (255). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียนวิชาศิลปะ เรื่องการสร้างสรรค์จากเศษวัสดุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนในระดับปริญญาโทของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีการศึกษา 2554. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาศาสตร์.
ปัญจา ชูช่วย. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
พัชราภรณ์ อินริราย และธวัลรัตน์ สัมฤทธ. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักศึกษาจากการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยวิธีแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวัดและเครื่องมือวัดในงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา.
พิทยา โพธิ์ทอง. (2549). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจทางการเรียน เรื่องมาสร้างโลกสีเขียวกันเถอะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยการใช้เกมและเพลงประกอบการสอน. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษาการสอนสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. (2561). นโยบายของมหาวิทยาลัย
ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. ราชบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
เมธาวดี มณีนิล. (2556). “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจในการจัดทําสื่อ Power Point เรื่องระบบร่างกาย". วารสารวิจัยนวัตกรรมและการบริหารงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 24(1), 157 - 171.
ยุทธ มะลิรส. (2555). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลคำพี้ อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
รุจิราพรรณ คงช่วย. (2559). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคใต้. สงขลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
วราภรณ์ ลวงสวาส, สฎายุ ธีระวณิชตระกูล และชัยพจน์ รักงาม. (2561). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1”. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 6(1): 236 - 254.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). รายงานสภาวะการศึกษาไทย
ปี 2551/2552. กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
สุดี บุญนาค. (2553). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากการเรียนด้วยเว็บช่วยสอน โดยใช้เทคนิคแอดมินชัน 3 มิติ เรื่องภูเขาไฟ. วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Barnard Chester I. (1969). Organization and Management. Cambridge: Harvard University.
Bloom, Benjamins. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York: McGraw-Hill Book Company.
Cronbach, L. J. (1977). Education Psychology. New York: Harcourt Brace Jovanovich.