การสร้าง “ชุมชนสันติสุข” ในวรรณกรรมเรื่องอาณาจักรแห่งหัวใจ

ผู้แต่ง

  • อามานี จะปะกียา คณะศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
  • พัชลินจ์ จีนนุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

DOI:

https://doi.org/10.14456/husoaru.2024.15

คำสำคัญ:

ชุมชนสันติสุข, วรรณกรรม, อาณาจักรแห่งหัวใจ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง การสร้าง “ชุมชนสันติสุข” ในวรรณกรรมเรื่องอาณาจักรแห่งหัวใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะชุมชนสันติสุขและองค์ประกอบการสร้างชุมชนสันติสุข ผลการศึกษาพบว่าผู้ประพันธ์ถ่ายทอดชุมชนสันติสุขแบ่งเป็นลักษณะแห่งสันติสุขภายใน (Inner peace) หรือเรียกว่า สันติสุขส่วนตน และลักษณะสันติสุขภายนอก (External peace) หรือเรียกว่า สันติสุขส่วนสังคม องค์ประกอบการสร้างชุมชนสันติสุข ผู้ประพันธ์พยายามที่จะถ่ายทอดให้เห็นถึงชุมชนสันติสุขที่ประกอบสร้างจากการสร้างตัวละครที่มีความหลากหลายแสวงหาชุมชนสันติสุข การสร้างฉากแห่งสันติภาพที่คนในชุมชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขให้เกิดขึ้นจริง

References

กุสุมา รักษมณี. (2551). อาณาจักรแห่งหัวใจ. นานมีบุ๊คส์.

เจตนา นาควัชระ. (2521). ทฤษฎีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี. ดวงกมล.

ชนาภา ศรีวิสรณ์. (2563). กระบวนการสร้างสันติสุขสัมพันธ์ตามหลักสันติวิธีเชิงบูรณาการ ของชุมชนดอยช้างจังหวัดเชียงราย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชนาภา ศรีวิสรณ์, พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ, และขันทอง วัฒนะประดิษฐ์. (2561). แนวทางการเสริมสร้างชุมชนสันติสุขตามหลักพุทธสันติวิธี: กรณีศึกษาชุมชนชาวไร่กาแฟดอยช้าง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร, 6(1), 284-297.

ณัฏฐวุฒ ทรัพย์อุปถัมภ์. (2558). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 3). มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 6. (2559). รายงาน การศึกษาเรื่องสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง. SlideShare. https://www.slideshare.net/tarayasri/ss-66197843

ประเวศ วะสี. (2559). สันติวิธีกับสิทธิมนุษยชน. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. (2557). พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วัชรินทร์ แก่นจันทร์. (2563). การโต้กลับวาทกรรมการเมืองในเรื่องสั้นของ ลาวคำหอม. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 10(2), 87-96.

วิสิฏฐ์ คิดคำส่วน. (2557). วาทกรรมความขาว: อัตลักษณ์ความงามของผู้หญิงลาวในวัฒนธรรมสมัยใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ศิริ ฮามสุโพธิ์. (2555). การพัฒนาศักยภาพการพึ่งตนเองในระดับหมู่บ้าน. วารสารการบริหารปกครอง, 1(1), 87-125.

สถาบันพระปกเกล้า. สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล. (2561). การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 8. https://www.mukdahan.go.th/

สุชาติ เศรษฐมาลินี. (2559). การสร้างสันติภาพในสังคมพหุลักษณ์ทางศาสนาชาติพันธุ์: กรณีศึกษามุสลิมในภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์, 35(2), 1-29.

สุชาติ สวัสดิ์ศรี. (2537). นักเขียนหนุ่ม. ประพันธ์สาส์น.

สุทิน นพเกตุ. (2553). สนทนาสันติภาพสู่ต้นกล้าเยาวชน. มูลนิธิสหพันธ์สันติภาพสากล (ประเทศไทย). https://upf.or.th/2010/index.php

สุภัค มหาวรากร, นิธิอร พรอำไพสกุล, และวิพุธ โสภวงศ์. (2562). ความสุขในความหลากหลายทางวัฒนธรรม. สันติศิริการพิมพ์.

อภิญญา ดิสสะมาน. (ม.ป.ป.). ถอดบทเรียนชุมชนสันติสุขภายใต้สันติวัฒนธรรม กรณีศึกษา ชุมชนบึงคอไห. สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า.

อริยา เศวตามร์. (2542). นักพัฒนากับบทบาทในการสร้างความหมายใหม่ของ "ชุมชน" ใน ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ (บรรณาธิการ), เศรษฐศาสตร์การเมือง เอ็นจีโอ 2000. ศูนย์เศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัชฌาฐิณี. (2554). อาณาจักรแห่งหัวใจ (พิมพ์ครั้งที่ 3). นานมีบุ๊คส์.

อำภา จันทรากาศ. (2543). ทุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อุทัย ดุลยเกษม และอรศรี งามวิทยาพงศ์. (2540). ระบบการศึกษากับชุมชน กรอบความคิดและข้อเสนอเพื่อการศึกษาวิจัย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-17

How to Cite

จะปะกียา อ., & จีนนุ่น พ. (2024). การสร้าง “ชุมชนสันติสุข” ในวรรณกรรมเรื่องอาณาจักรแห่งหัวใจ. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 12(2), 90–106. https://doi.org/10.14456/husoaru.2024.15