เครือข่ายนโยบายสาธารณะ: ความหมาย การวิเคราะห์เครือข่ายและกรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • นิภาพรรณ เจนสันติกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/husoaru.2023.5

คำสำคัญ:

เครือข่ายนโยบายสาธารณะ, องค์ประกอบ, กรณีศึกษา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความหมายของเครือข่ายการวิเคราะห์เครือข่ายและกรณีศึกษาเพื่อให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของการวิเคราะห์เครือข่ายกับการบริหารเครือข่าย ผลการวิเคราะห์ พบว่า 1) เครือข่ายเป็นรูปแบบการประสานงานของบุคคล กลุ่ม หรือองค์การหลาย ๆ องค์การที่ต่างฝ่ายต่างมีทรัพยากร มีเป้าหมาย และมีวิธีการทำงาน 2) ผลการวิเคราะห์เครือข่ายนโยบายสาธารณะกับกรณีศึกษาจำนวน 3 กรณี ได้แก่ เครือข่ายสลัมสี่ภาค เครือข่ายดอนฉิมพลีโมเดล และเครือข่ายทางสังคมของแรงงานสตรีลาวย้ายถิ่น พบว่า ทั้ง 3 กรณีศึกษามีขนาดของกลุ่มสังคมพิจารณาได้จากจำนวนสมาชิกและมีการติดต่อสื่อสารในประเด็นทางนโยบายสาธารณะร่วมกัน มีการจัดรูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของการทำงานระหว่างสมาชิกในเครือข่าย มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและมีอำนาจเท่าเทียมกันในกระบวนการ มีการกำหนดกรอบการทำงานร่วมกัน ดังนั้นเพื่อให้การบริหารเครือข่ายประสบความสำเร็จ ควรนำรูปแบบการบริหารแบบหุ้นส่วนร่วมกันระหว่างรัฐบาลและเอกชนเข้ามาใช้

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2538). การพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชนโดยถือมนุษย์เป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: สามัคคีสาส์น.

จันทะลา วรรณหงส์ และธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2561). เครือข่ายทางสังคมของแรงงานสตรีลาวย้ายถิ่นในจังหวัดอุดรธานี ประเทศไทย. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(2), 127-148.

ชนกาญจน์ พันธุ์เดิมวงศ์. (2559). กระบวนการและการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านที่อยู่อาศัยของเครือข่ายสลัมสี่ภาค. วารสารวิจัยสังคม, 39(1), 73-108.

นฤมล นิราทร. (2543). การสร้างเครือข่ายการทำงาน: ข้อควรพิจารณาบางประการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นันธิดา จันทร์ศิริ. (2557-2558). การจัดการเครือข่ายในกระบวนการนโยบายสาธารณะ. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์, 15(1), 145-153.

พัชรี สิโรรส. (2539). คำบรรยายวิชานโยบายสาธารณะและการวิเคราะห์นโยบาย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (2555). การเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบายโฉนดชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2550). เครือข่าย: นวัตกรรมการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

หทัยทิพย์ นราแหวว และทวิดา กมลเวชช. (2561). การบริหารจัดการอุทกภัย กรณีศึกษาเปรียบเทียบ: เทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และตำบลดอนฉิมพลี จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน, 11(2), 35-82.

Alter, C., & Hage, J. (1993). Organizations working together. California: Sage.

Bevir, M., & Richards, D. (2009). Decentring policy networks: A theoretical agenda. Public Administration, 87(1), 3-14.

Butts, C. T. (2008). Social network analysis: A methodological introduction. Asian Journal of Social Psychology, 11, 13-41.

Dempwolf, C. S., & Lyles, L. W. (2012). The uses of social network analysis in planning: A review of the literature. Journal of Planning Literature, 27(1), 3-21.

Goldsmith, S., & Eggers, W. D. (2004). Governing by network: The new shape of the public sector. Washington, DC.: Brookings Institution Press.

Goodsell, C. T. (2006). A new vision for public administration. Public Administration Review, 66(4), 623-635.

Jensantikul, N. (2021). Concept and elements of a network model for effective management. In Proceedings of 16th International Conference on Humanities and Social Sciences 2021 (IC-HUSO 2021) 18th-19th November 2021, Faculty of Humanities and Social Sciences (pp.285-294). Khon Kaen: Khon Kaen University.

Joanna, S., & Wohlstetter, P. (2006). Understanding the different faces of partnering: A typology of public-private partnerships. School Leadership and Management, 26(3), 249-268.

Macdonald, R. (2012). Pinning down the moving target: The nature of public-private relationships. Public Performance & Management Review, 35(4), 578-594.

McEntire D. A., Fuller, C., Johnston, C. W., & Weber, R. (2002). A comparison of disaster paradigms: The search for a holistic policy guide. Public Administration Review, 62(3), 267-281.

McGuire, M. (2006). Collaborative public management: Assessing what we know and how we know it. Public Administration Review, 66 (Special issue), 33-43.

Parag, Y. (2006). A system perspective for policy analysis and understanding: The policy process networks. The Systemist, 28(2), 212-224.

Provan, K. G., & Milward, H. B. (2001). Do networks really work?: A framework for evaluating public sector organization network. Public Administration Review, 61(4), 414-423.

Reid, N., & Smith, B. W. (2009). Social network analysis. Economic Development Journal, 8(3), 48-55.

Rhodes, R. A. W., & Marsh, D. (1992). Policy networks in British politics: A critique of existing approaches. London: Oxford University Press.

Sandström, A., & Carlsson, L. (2008). The performance of policy networks: The relation between network structure and network performance. The Policy Studies Journal, 36(4), 497-524.

Simo, G., & Bies, A. L. (2007). The role of nonprofits in disaster response: An expanded model of cross-sector collaboration. Public Administration Review, 67, 125-142.

Smith, J., & Wohlstetter, P. (2006). Understanding the different faces of partnering: A typology of public-private partnerships. School Leadership & Management, 26, 249-268.

Starkey, P. (1997). Network for development. London, UK: International Forum for Rural Transport and Development.

Stone, D. (2008). Global public policy, transnational policy communities, and their networks. Policy Studies Journal, 36(1), 19-38.

Tumornsunthorn, N.S., Empradit, N., & Sangkhawan, D. (1998). A study on social factors affecting AIDS patients. Bangkok: Research Report for Committee on Social Issues Research, National Council on Social Welfare of Thailand under Royal Patronage.

Wasserman, S., & Faust, K. (1994). Social network analysis: Methods and applications. Cambridge: Cambridge University Press.

Zaharioaie, M. (2012). The utility of using public-private partnership for local governments. Journal of Public Administration, Finance and Law, 2, 17-24.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23

How to Cite

เจนสันติกุล น. (2023). เครือข่ายนโยบายสาธารณะ: ความหมาย การวิเคราะห์เครือข่ายและกรณีศึกษา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 11(1), 115–136. https://doi.org/10.14456/husoaru.2023.5