ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์กับมิติทางการบริหารราชการแผ่นดิน
คำสำคัญ:
ทฤษฎี, รัฐประศาสนศาสตร์, การบริหารราชการแผ่นดินบทคัดย่อ
รัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีพัฒนาการมาหลายยุคสมัย ซึ่งในการทำความเข้าใจรัฐประศาสนศาสตร์นั้น ได้มีนักวิชาการจัดกลุ่มทฤษฎีไว้หลายลักษณะ อาทิ การแบ่งกระบวนทัศน์ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ตามวิวัฒนาการของทฤษฎีและยุคสมัย การแบ่งกระบวนทัศน์ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ตามยุคของการบริหารจัดการภาครัฐและการบริการสาธารณะ และการแบ่งกลุ่มทฤษฎีตามความสามารถในการอธิบายปรากฏการณ์ เมื่อนำกลุ่มทฤษฎีที่ถูกจัดหมวดหมู่ไว้มาอธิบายปรากฏการณ์การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย จะสามารถจำแนกได้ 5 มิติ คือ (1) มิติความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกับการเมือง อธิบายด้วยกลุ่มทฤษฎีการเมืองควบคุมระบบราชการและกลุ่มทฤษฎีการเมืองระบบราชการ (2) มิติเชิงสถาบันอธิบายด้วยทฤษฎีสถาบันสาธารณะ (3) มิติการจัดการอธิบายด้วยทฤษฎีการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (4) มิติการตัดสินใจของผู้บริหาร อธิบายด้วย ทฤษฎีการตัดสินใจ และทฤษฎีทางเลือกที่มีเหตุผล (5) มิติองค์รวมอธิบายด้วย ทฤษฎีหลังสมัยใหม่ และทฤษฎีการบริหารการปกครอง (Governance)
References
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2548).หลักรัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์
ณัฐฐา วินิจนัยภาค. (2558). ทิศทางของรัฐประศาสนศาสตร์ไทย. ใน สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์(บรรณาธิการ). รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา และทิศทาง. (หน้า 179-198). กรุงเทพ:คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ปกรณ์ ศิริประกอบ. (2559). 3 พาราไดม์ทางรัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิด ทฤษฎี และการนำไปปฏิบัติจริง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิทยา บวรวัฒนา. (2556). รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวคิดการศึกษา (ค.ศ.1887-ค.ศ.1970). กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศิริพงศ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2551). แนวความคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. เชียงใหม่: ธนุชพริ้นติ้ง
วันชัย มีชาติ. (2558). รัฐประศาสนศาสตร์ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต: มองเทศ มองไทย. ใน สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์(บรรณาธิการ). รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา และทิศทาง. (หน้า 153-177). กรุงเทพ:คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
อลงกต วรกี. (ม.ป.ป). การปฏิรูประบบราชการ: ก้าวไปข้างหน้าหรือถอยหลังเข้าคลอง. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2559 จาก http://kpi.ac.th/media/pdf/M7_20.pdf
อุทัย เลาหะวิเชียร. (2558). รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย: การเปลี่ยนแปลงของลักษณะวิชา และทิศทาง. ใน สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์(บรรณาธิการ). รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลง การพัฒนา และทิศทาง. (หน้า 51-84). กรุงเทพ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
H. George Frederickson, Kevin B. Smith, Christopher W. LarimerandMichael J. Licari. (2012). The Public Administration Theory Primer. Boulder: Westview Press
Nicholas Henry. (2013). Public Administration and Public Affairs.Boston : Pearson
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา