การมีหลายความหมายของคำกริยา เห็น ในภาษาไทย

ผู้แต่ง

  • รุ่งทิพย์ รัตนภานุศร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • พรเพ็ญ ไพศาลศุภนิมิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • กุสุมา นะสานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

การมีหลายความหมายของคำ, นามนัย, คำกริยาแสดงการรับรู้ด้วยตา

บทคัดย่อ

คำกริยา เห็น ในภาษาไทยเป็นคำที่มีหลายความหมาย  นอกจากจะหมายถึง “เห็นด้วยตา” แล้ว  คำกริยา เห็น ยังใช้ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ในทางปริชาน เช่น “รู้” หรือ “เข้าใจ” ได้ด้วย  ในบทความนี้ผู้เขียนจะแสดงให้เห็นว่าคำว่า เห็น เป็นคำกริยาที่แสดงการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทางตา ที่เกิดการขยายความหมายจากการรับรู้ด้วยตาไปยังความหมายที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ทางความคิด ด้วยกลไกทางปริชานแบบ ‘นามนัย’  อันมีที่มาจากความสัมพันธ์ที่ยึดโยงกันอย่างแนบแน่นระหว่างมโนทัศน์การรับรู้ด้วยตาและมโนทัศน์ปริชานตามการรับรู้ของผู้ใช้ภาษา ทำให้คำกริยา เห็น ถูกนำมาใช้เพื่ออ้างอิงไปยังความหมาย “รู้” หรือ “เห็น” ในที่สุด

References

กลุ่มจิตวิวัฒน์. (2548). จิตผลิบาน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

ทีมงานรายการเจาะใจ. (2545). เจาะใจคนบันเทิง. กรุงเทพฯ: สุดสัปดาห์สำนักพิมพ์.

ปิยาวันทน์ ประยุกต์ศิลป์. (2548). ดวงตาอันดามัน. กรุงเทพฯ: เนชั่นมัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด.

ประเวศ วะสีและคณะ. (2547). ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อความเป็นไท. กรุงเทพฯ: อมรินทร์. ผู้จัดการบันเทิงออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม 2547- 2 มิถุนายน 2548 จาก http://www.manager.co.th.

พระพรหมคุณาภรณ์. (2541). จาริกบุญ จารึกธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิมพ์สวย.

ฟริตจ๊อฟ คาปร้า. (2548). โยงใยที่ซ่อนเร้น (The Hidden Connections). แปลโดยวิศิษฐ์ วังวิญญูและคณะ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา.

รุ่ง แก้วแดง. (2546). ครูสมพรคนสอนลิง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน. “สภาท่าพระอาทิตย์”. รายการสนทนาทางสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ASTV 1: NEWS 1. ออกอากาศทุกวันจันทร์-ศุกร์ ระหว่างเวลา 7.30-9.30น. (เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 6 พฤษภาคม 2548-10 มิถุนายน 2548). หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. ฉบับประจำวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548. “a day weekly” นิตยสารวิเคราะห์ข่าวรายสัปดาห์. คอลัมน์ “ Weekly Interview” ฉบับที่ 2-41 ระหว่างวันที่ 28 พฤษภาคม 2547 – 2 มีนาคม 2548.

CU-concordance. (มปป). คลังข้อมูลภาษาไทย. รวบรวมโดยภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จาก http://www.arts.chula../tconcord.pl.

Flew, A. (1979). A Dictionary of Philosophy. Reading: Pan Books.

Goatly, A. (1997). The Language of Metaphors. London: Routledge.

Hanegreefs, H. (2004). On meaning of the verbs of visual perception in Spanish: An empirical analysis. From http://www.u-bordeaux3.fr/Actu/colloques/2004/r-lapaire/Abstract/Hanegreefs.

Johnson, C. (1999). Metaphor VS conflation in the acquisition of polysemy: The case of ‘see’,” in Masako K. Hiraga; Chris Sinha and Sherman Wilcox (eds.). Cultural, Psychology and Typological Issues in Cognitive Linguistics. Philadelphia: John Benjamins, 155-169.

Kövecses, Z. (2002). Metaphor: A Practical Introduction. New York: Oxford University Press.

Lakoff, G. (1987). Women, Fire, and Dangerous Things: What Categories Reveal about the Mind. Chicago: The University of Chicago Press.

Lakoff, G and Johnson, M. (1980). Metaphor We Live By. Chicago: The University of Chicago Press.

Lakoff, G and Turner, M. (1989). More Than Cool Reason: A Field Guide to Poetic Metaphor. Chicago: The University of Chicago Press.

Lakoff, G. (1992). The contemporary theory of metaphor. From http://www.ac.wwu.edu/~market/semiotic/lkof_met.html.

Ruiz de Mendoza, F.J. I. and Otal, J.L.C. (2002). Metonymy, Grammar, and Communication. Albolote, Granada: Editorial Comares.

Sinha, C. and Jensen de López, K. (2000). Language, culture and the embodiment of spatial cognition. Cognitive Linguistics 11 (1/2), 17-41.

Sweetser, E. (1990). From Etymology to Pragmatics: Metaphorical and Cultural Aspects of Semantic Structure. Cambridge: Cambridge University Press.

Ungerer, F. and Schmid, H. (1996). An Introduction to Cognitive Linguistics. New York: Longman.

Vander Nat, A. (2003). Neurons, Concepts, and Connections in Thinking. From http://orion.it.luc.edu/~avander1/connections/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-28

How to Cite

รัตนภานุศร ร., ไพศาลศุภนิมิต พ., & นะสานี ก. (2022). การมีหลายความหมายของคำกริยา เห็น ในภาษาไทย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 4(1), 136–158. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/260418