แนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารของ เดล ไฮมส์ และ ซาวิล ทรอยก์ กับการศึกษาภาษาและโครงสร้างสถานการณ์การสื่อสารในภาษาไทย

ผู้แต่ง

  • สุวัฒชัย คชเพต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

แนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร, ชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการพูด, สถานการณ์การสื่อสาร

บทคัดย่อ

แนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารหรือเดิมทีเดียวเรียกว่า “ชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการพูด” คือ การวิเคราะห์การสื่อสารภายในบริบทที่กว้างขึ้นของการปฏิบัติตามสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนความเชื่อของสมาชิกในวัฒนธรรมหรือชุมชนภาษานั้น แนวคิดนี้เป็นวิธีการอย่างหนึ่งของการวิเคราะห์ภาษาในระดับข้อความอยู่ในวิชาภาษาศาสตร์ที่ใช้ความคิดของศาสตร์ด้านมนุษยวิทยาชาติพันธุ์  ดังนั้นในบทความนี้มีจุดประสงค์หลัก 2 จุดประสงค์ เกี่ยวกับ 1. การกล่าวถึงความเป็นมาของแนวความคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารของเดล ไฮมส์ และซาวิล ทรอยก์ และ 2. สำรวจและรวบรวมงานศึกษาที่นำแนวความคิดนี้มาประยุกต์เพื่อการศึกษาภาษาและโครงสร้างของสถานการณ์การสื่อสารในภาษาไทย

References

ณิศณัชชา เหล่าตระกูล. (2549). สถานการณ์สื่อสารพยานคดีอาญาในศาลไทยตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ : แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดียู ศรีนราวัฒน์. (2548). ภาษากับสังคม. ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (เอกสารอัดสำเนา).

ปอรัชม์ ยอดเณร. (2544). การศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างพิธีกรและวิทยากรรายการสุขภาพทางโทรทัศน์ในเชิงชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวาทวิทยาและสื่อสารการแสดง บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

น้ำผึ้ง มโนชัยภักดี. (2554). การแสดงลำตัดคณะหวังเต๊ะ: การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พิกุลกานต์ รุจิราภา. (2537). การแสดงพระธรรมเทศนาทางวิทยุ: การศึกษาแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์-มหาวิทยาลัย.

พระมหาศรายุทธ เจตรา. (2558). การศึกษาเทศน์มหาชาติแหล่อีสานตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2559. จาก http://gsmis.gs.kku.ac.th/publish/details/20163

มัลลิการ มาภา และคณะ. (2554). การสวดสรภัญญะของจังหวัดนครพนม: ศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 3(6), 51-61.

มณฑาทิพย์ ศิริพันธ์. (2554). การแสดงโนราคณะละมัยศิลป์: การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศุภมน อาภานันท์. (2554). การแสดงลิเกคณะทวีป-ชัยณรงค์ วงเทวัญ: การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุดาดวง เกิดโมฬี. (2537). การศึกษาการปราศรัยหาเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรตามแนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุนันท์ กินรีวงค์ และคณะ. (2554). ชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร: กรณีศึกษางานประเพณีบั้งไฟ ตำบลสร้างมิ่ง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร. วารสารศิลปศาสตร์. 3(1), 122-141.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Fasold, Ralph W. (1990). The Sociolinguistics of Language: Introduction to Sociolinguistics Volume II. Oxford: Basil Blackwell Ltd.

Giglioli, Pier Paolo (ed). (1972). Language and Social Context. Hammonsworth, Middlesex Penguin Books Ltd.

Gumperz, John J., and Hymes, Dell (eds). (1972). Directions in Sociolinguistics: The Ethnography of Communication. Oxford: Basil Blackwell.

Saville-troike, Murial. (1989). The Ethnography of Communication. 2nd ed. Oxford: Basil Blackwell Publisher Limited.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-28

How to Cite

คชเพต ส. (2022). แนวคิดชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสารของ เดล ไฮมส์ และ ซาวิล ทรอยก์ กับการศึกษาภาษาและโครงสร้างสถานการณ์การสื่อสารในภาษาไทย . วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 4(1), 59–78. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/260409