การพัฒนารูปแบบประชาธิปไตยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนคลองตะเคียนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผู้แต่ง

  • อัครวินท์ ศาสนพิทักษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ประชาธิปไตยชุมชน, ชุมชนคลองตะเคียน, จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษารูปแบบประชาธิปไตยชุมชน ในพื้นที่ชุมชนคลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาประชาธิปไตยชุมชน ในพื้นที่ชุมชนคลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การวิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณโดยอาศัยแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 371 คน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling Technique) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรรณาแบบ จำนวน ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานโดยการหาค่าการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 

  1. วิถีประชาธิปไตยมีความสัมพันธ์กับรูปแบบประชาธิปไตยชุมชนอยู่ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งจะส่งผลต่อกระบวนการประชาธิปไตยชุมชนใน 4 ขั้นตอนประกอบด้วย (1) การรวบรวมปัญหาและความต้องการ (2) กระบวนการนำปัญหาความต้องการของชาวบ้านเป็นนโยบายและแผนพัฒนา (3) การพัฒนาชุมชนโดยชุมชน และ (4) การติดตามผลการพัฒนาชุมชน มีผลต่อการพัฒนาประชาธิปไตยชุมชน
  2. ปัจจัยส่วนบุคคลด้านศาสนามีความสัมพันธ์กับรูปแบบประชาธิปไตยชุมชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยทางด้าน เพศ อายุ รายได้ อาชีพ ไม่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบประชาธิปไตยชุมชน

References

กมล สมวิเชียร. (2520). ประชาธิปไตยกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช

กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2540). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS for Window. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์

ถวิลวดี บุรีกุล. (2552). การมีส่วนร่วม: แนวคิด ทฤษฎีและกระบวนการ.สำนักวิจัยและพัฒนา. สถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: ส เจริญ การพิมพ์

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง. (2526). การบริหารการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์

ชัยอนันต์ สมุทรวณิช. (2532). ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์กับการเมืองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ดวงดีการพิมพ์

วิศิษฐ์ ทวีเศรษฐ และ สุขุม นวลสกุล. (2542). การเมืองและการปกครองไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ปาริชาติ วลัยเสถียร. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ประเวศ วะสี. (2527). วัฒนธรรมกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ

ประเวศ วะสี. (2537). ชุมชนเข้มแข็ง ทุนทางสังคมของไทย. (หนังสือชุดชุมชนเข้มแข็งลำดับที่ 1) กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนเพื่อสังคมและธนาคารออมสิน

ธีรพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2543). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง: ประชาคมประชาสังคม. ขอนแก่น: โครงการจัดตั้งมูลนิธิเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ชมรมนักวิชาการสาธารณสุขภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ปิยะวิทย์ เทพอำนวยสกุล. (2549). นโยบายเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: เป็นไท พับบิชชิ่ง

พัฒนา กิติอาษา. (2546). ท้องถิ่นนิยม การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ทองทวี หงส์วิวัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์.

ทศพล สมพงษ์. (2555). ประชาธิปไตยชุมชนจากแนวคิดสู่การจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า

ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2527). การพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช

สำนักแผนพัฒนาการเมือง สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า. (2556). ถอดบทเรียนประชาธิปไตยชุมชน: จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ

สำนักแผนพัฒนาการเมือง สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า. (2556). ถอดบทเรียนประชาธิปไตยชุมชน: จังหวัดระยอง. กรุงเทพฯ

สำนักแผนพัฒนาการเมือง สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า. (2556). ถอดบทเรียนประชาธิปไตยชุมชน: จังหวัดอำนาจเจริญ. กรุงเทพฯ

เธียรชัย ณ นคร และคณะ. (2553). ประชาธิปไตยชุมชน: กลไกขับเคลื่อนภาคพลเมืองเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ :สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2544). การส่งเสริมประชาธิปไตยผ่านกิจกรรมค่าย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมการเกษตรแห่งประเทศไทย

สน รูปสูง. (2553). ประชาธิปไตยชุมชน. เอกสารสำนักงานสภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า

สน รูปสูง. (2554). คู่มือประชาธิปไตยชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเมือง

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2546). การเมือง: แนวความคิดและการพัฒนา. กรุงเทพฯ

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2541). การพัฒนาชุมชนแบบจัดการ. กรุงเทพฯ: เอมีเทรดดิ้ง

เสน่ห์ จามริก. (2540). การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

เสรี พงศ์พิศ. (2547). ร้อยทำที่ควรรู้: ให้เท่าทันตามสถานการณ์เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: พลังทางปัญญา.

สาโรช บัวศรี. (2550). พื้นฐานการเมืองและการปกครองของไทย. กรุงเทพฯ: กรมฝึกหัดครู

อคิน รพีพัฒน์. (2527). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย. ใน ทวีทอง หงส์วิวัฒน์ (บรรณาธิการ). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภณการพิมพ์

อุทัย หิรัญโต. (2543). การปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์

ประทาน คงฤทธิ์ศึกษากร. (2540). การบริหารปกครองท้องถิ่น. นนทบุรี: สุโขทัยธรรมาธิราช

อธิตา อับดุลฮามิ. (2555). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานด้านความมั่นคงและเสริมสร้างสันติสุขของเทศบาลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

Cohen andUphoff. (1980). “Participation’s Place in Rural Development: Seeking Clarify Through Specificity” World Development.

Oxford University. (1993). The Oxford English Dictionary. London: Oxford University Press,

United Nations Research Institute for Social Development. (1982). Human Development Report 2007. Bangkok: Keen Publishing.

Robson, William A. (1953). State and Local Government in the United States. New York: McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-27

How to Cite

ศาสนพิทักษ์ อ. (2022). การพัฒนารูปแบบประชาธิปไตยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนคลองตะเคียนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 4(2), 180–195. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/260390