การประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ผู้แต่ง

  • กัลยา ยศคำลือ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

คำสำคัญ:

ประกันคุณภาพการศึกษา, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการดำเนินงานพัฒนางานประกันคุณภาพการศึกษาของสาขา วิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ปีการศึกษา 2559 พบว่าคณาจารย์ได้พัฒนางานประกันคุณภาพการศึกษาใช้ผลการประเมินงานประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2558 มาเป็นแนวทางพัฒนาให้สอดคล้องตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 การจัดกิจกรรมใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง (Deming cycle) มีการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อรับนักศึกษาใหม่    ปีการศึกษา 2560 นำปัญหาที่พบในการสอนนักศึกษามาแก้ไขร่วมกัน บริหารหลักสูตรตามหลักธรรมาภิบาล อาจารย์จะต้องสอน วิจัย บริการวิชาการชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดีและพัฒนางานสหกิจศึกษาให้มีคุณภาพ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2539). ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.

กัลยา ยศคำลือ. (2554). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. เลย : วารสารวิจัยและพัฒนา ปีที่ 8 ฉบับที่ 25 กรกฎาคม-กันยายน 2556.

กัลยา ยศคำลือ. (2555). ทัศนคติต่อประชาคมอาเซียนของนักศึกษา สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2556.

กัลยา ยศคำลือ. (2558). การบริหารสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. เลย : Proceeding the 4th International conference BuriramRajabhat University (RUNIRACIV) November 22-24, 2016.

จำรัส นองมาก. (2546). ปฏิบัติการการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์. (2545). TQM ภาคปฏิบัติ : เทคนิคการแก้ปัญหาแบบ "สึกยาม่า". กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. (2558). คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา. เลย : งานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : นานมี.

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. (2560). ประเมินตนเองสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ปีการศึกษา 2559. เลย: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สมคิด พรมจุ้ย และสุพักตร์ พิบูลย์. (2544). การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาในสถานศึกษาจังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). การวิจัยและพัฒนาการประเมินผลภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: วี ที ซี คอมมิวนิเคชั่น.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร : วีทีซีคอมมิวนิเคชั่น.

Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill.

Geogiady, N.P. et.al. (1976). Increase Learning Trough Multi -media Approach. Audiovisual Instruction. 22(6) : 255 ; May.

Taylor, Gary R. A. (1965). Comparative Evaluation of Teaching Effectiveness and Efficiency for 3 Representation Module Programmed Multi - media for Groups, Textbook, and Multi – media Lecture Dissection as Adopted from and Original of Instruction. New York : McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-27

How to Cite

ยศคำลือ ก. (2022). การประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 4(2), 134–163. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/260386