ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านท้องคุ้ง ตำบลโพสะ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2457-2529

ผู้แต่ง

  • ธนวัฒน์ ลำเพ็ญ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • เพชรรุ่ง เทียนปิ๋วโรจน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น, บ้านท้องคุ้ง, แหวนพิรอด

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบ้านท้องคุ้ง ตำบลโพสะ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2457-2529 ตามระเบียบวิจัยทางประวัติศาสตร์ โดยใช้การวิจัยทางเอกสารชั้นต้นเอกสารชั้นรอง และการสัมภาษณ์ ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่าบ้านท้องคุ้งมีความเป็นมาตั้งแต่สมัยอยุธยา จนถึง พ.ศ. 2457 จึงตั้งเป็นตำบลโพสะ ชาวบ้านท้องคุ้ง มีเอกลักษณ์ทางวิถีชีวิตภูมิปัญญาวัฒนธรรม และมีความเชื่อท้องถิ่นที่สืบทอดมาจากอดีตโดยเฉพาะเรื่องแหวนพิรอดของพระครูวิจิตรธุราธร

References

ข้อมูลพื้นฐานสำนักงานเทศบาลตำบลโพสะ, ม.ป.ท, ม.ป.ป. ฌัง บัปติสต์ ปาลเลกัวซ์. (2549). เล่าเรื่องกรุงสยาม, แปลโดย. สันต์ ท.โกมลบุตร, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.

สมเด็จกรมพระยา, ดำรงราชานุภาพ. (2545). พงศาวดารเรื่องไทยรบพม่า, กรุงเทพฯ : มติชน.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2542). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.

พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457

เพ็ญศรี มีแสงเงิน, เสริมประสบการณ์กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตชุดภูมิปัญญาท้องถิ่น โพสะ เรื่องแหวนพิรอด, ม.ป.ท, ม.ป.ป.

วัฒนธรรมวิถีชีวิตและภูมิปัญญา. (2558). กรุงเทพฯ : กระทรวงวัฒนธรรม.

ศยามล ไกยูรวงศ์. (2551). ภูมิปัญญาวิถีชุมชนวิถีธรรมชาติ, กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการจัดการทางสังคม.

อนุสรณ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ พระครูวิจิตรธุราทร สาย จนฺทรํสี. (2530). อ่างทอง : วรศิลป์การพิมพ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-26