ความสัมพันธ์ระหว่างผัวเมีย : กรณีศึกษาจากกฎหมายตราสามดวง ในพระไอยการลักษณผัวเมีย

ผู้แต่ง

  • ธวัชชัย ภูหลวง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
  • พันธรัตน์ ศรีสุวรรณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ความสัมพันธ์, กฎหมายตราสามดวง, พระไอยการลักษณผัวเมีย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างผัวเมีย ในสมัยกรุงศรีอยุธยาผ่านการศึกษากฎหมายตราสามดวง จากการศึกษาพบว่ากฎหมายที่ใช้ควบคุมการกระทำความผิด และธรรมเนียมการครองเรือน คือ กฎหมายพระไอยการลักษณผัวเมีย ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพื้นฐานของสังคม ประเพณี วัฒนธรรมของไทยในอดีต ว่ามีการพัฒนาการทางด้านสังคมผ่านกฎหมาย การศึกษากฎหมายพระไอยการลักษณะผัวเมีย ในกฎหมายตราสามดวงจึงเป็นการศึกษาทั้งความสัมพันธ์ในสถาบันครอบครัว แนวความคิด ความเชื่อ และจารีตประเพณี นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงบริบทของสังคมสมัยอยุธยาได้เป็นอย่างดี

References

กรมศิลปากร. (2555). หนังสือกฎหมายตราสามดวง เล่มที่ 3. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.

ดวงจิตต์ กำประเสริฐ. (2542). ประวัติศาสตร์กฎหมาย. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

มองซิเออร์ เดอ ลา ลูแบร์. (2552). จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศรีปัญญา

แลงกาต์ โรแบรต์. (2489). ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : มหาลัยธรรมศาสตร์.

วัชรินทร์ สังสีแก้ว. (2558). ข่มขืนกระทำชำเรา อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ : มหาลัยธรรมศาสตร์.

วรพร ภู่พงศ์พันธุ์. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์อยุธยา. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาลัยศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2547). 200 ปีกฏหมายตราสามดวง.กรุงเทพฯ : ศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.

เสนีย์ ปราโมช. (2559). กฎหมายสมัยอยุธยา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์. (2513). กฎหมายไทยเล่ม 1. พระนคร : โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-26