การวิเคราะห์วรรณศิลป์ในเพลงแรป ของปู่จ๋าน ลองไมค์

ผู้แต่ง

  • วรางคณา ปัญญามี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

วรรณศิลป์, แรป, ปู่จ๋าน ลองไมค์

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์วรรณศิลป์ในเพลงแรป (rap) ของปู่จ๋าน ลองไมค์  ศึกษาจาก 8 เพลง  โดยมุ่งศึกษาวรรณศิลป์ 2 ส่วน คือ ระบบภาษา และการแสดงอารมณ์สะเทือนใจ ระบบภาษา อันได้แก่ วรรณศิลป์ระดับคำและวรรณศิลป์ระดับความ ส่วนการแสดงอารมณ์สะเทือนใจ อันได้แก่ รสวรรณคดีไทย ผลการศึกษาพบว่า วรรณศิลป์ระดับคำที่เด่นชัดได้แก่ 1) การสรรคำที่ปรากฏการใช้คำสละสลวย และเหมาะสมกับการสื่ออารมณ์เพลง 2) การเล่นคำเล่นเสียง ที่มีทั้งการเล่นกับพยัญชนะและสระ รวมถึงมีคำซ้อนที่ช่วยทำให้เกิดความไพเราะ วรรณศิลป์ระดับความพบการใช้ภาพพจน์ ทั้งอุปมา อุปลักษณ์ อติพจน์ และปฏิรูปพจน์ รวมถึงมีการใช้สัญลักษณ์ที่มีทั้งสัญลักษณ์ส่วนตัวและสัญลักษณ์สากล ในส่วนแสดงอารมณ์สะเทือนใจ พบว่ามี 5 เพลงที่ปรากฏรสวรรณคดีเสาวรจนี ส่วนเพลงที่ปรากฏนารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง  และสัลลา-ปังคพิสัย ปรากฏรสวรรณคดีละ 1 เพลง สะท้อนให้เห็นว่า ปู่จ๋าน ลองไมค์ ให้ความ สำคัญกับการสร้างเพลงที่เน้นอารมณ์ชื่นชมความงามของผู้คน ชีวิต สังคม มากกว่าอารมณ์สากลทั่วไป เพลงแรปจึงมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับวรรณกรรมประเภทอื่น

References

เจตนา นาควัชระ. (2542). ทฤษฏีเบื้องต้นแห่งวรรณคดี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :ศยาม.

ทีวีบูรพา. (2560). คนค้นคน ตอน ปู่จ๋าน ลองไมค์. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก http://tvburabha.com/program/view/3619.

ธเนศ เวศร์ภาดา. (2549). หอมโลกวรรณศิลป์. กรุงเทพฯ : ปาเจรา.

บุญเกิด รัตนแสง. (2550). เกร็ดวรรณคดี. กรุงเทพฯ : พัฒนศึกษา.

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2560). วันนี้ต้องก้าว. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=fYZF8IdWgoY

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2560). มณีในกล่องแก้ว. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=62cXFSoZDBI

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2560). ยันหว่างเลยไอ้สอง. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=LOqaWR6I8cg

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2559). กับคำว่าเพื่อน. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=YGJZ6ZxsSFA

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2559). ต้องใช้มือ. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=CZ22_KO2sqw

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2559). สะพานไม้ไผ่. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=6ihtFBll4dI

ปูจ๋าน ลองไมค์. (2558). แลรักนิรันดร์กาล. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.youtube.com/watch?v=xlU_o3vsTt4

มะนาว. (2560). ประวัติ แนวเพลงฮิปฮอป ฮิปฮอปกับแร็พ ต่างกันอย่างไร?. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2561. จาก https://maanow.com/วัฒนธรรม-474-ประวัติ-แนวเพลงฮิปฮอป

รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2557). วรรณศิลป์ในวรรณคดีไทยที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร. พุทธศักราช ๒๔๕๗ – ๒๔๖๗ สิบปีนั้น วรรณคดีสโมสร. ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์.

สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2549). เจิมจันทร์กังสดาล ภาษาวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรจิรา อัจฉริยไพบูลย์. (2560). อรจิราวิชาการ: ศิลปะการอ่านวิจารณ์วรรณกรรม. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Cursedguy. (2559). อ่านแค่ไม่กี่ขั้นตอน คุณก็ Rap ได้. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561. จาก http://undergroundthailand.blogspot.com/2016/03/rap.html.

Oxford University. (2018). English Oxford living dictionary. Rhyme. Retrieved in 1 December 2018 from. https://en.oxforddictionaries.com/definition/rhyme?

The Journal of HipHop Thai study. (2560) PMC. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.projecthiphop.org/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-26

How to Cite

ปัญญามี ว. (2022). การวิเคราะห์วรรณศิลป์ในเพลงแรป ของปู่จ๋าน ลองไมค์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 6(2), 97–124. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/260325