ทฤษฎีอารยันรุกรานกับการล่มสลายของอารยธรรม ฮารัปปา : จุดเริ่มต้นและข้อโต้แย้งทางประวัติศาสตร์

ผู้แต่ง

  • ตุลย์ จิรโชคโสภณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

อารยัน, อารยธรรมฮารัปปา, ประวัติศาสตร์อินเดียและบูรพคตินิยม

บทคัดย่อ

ทฤษฎีอารยันรุกราน (Aryan Invasion Theory) เป็นข้อเสนอทางวิชาการของ นักบูรพคตินิยมในช่วงคริสตศตวรรษที่ 19 บริติชราจ (British Raj) มักนิยมใช้จินตภาพนี้ ในการอธิบายภูมิหลังของชาวพื้นเมืองอินเดียว่าไม่เคยมีสัมฤทธิผลทางวัฒนธรรม ขั้นสูงของตัวเองก่อนการเข้ามาของพวกอารยัน โดยความเจริญในด้านต่าง ๆ อันเป็น อัตลักษณ์สำคัญของชาวอินเดีย ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ชาวพื้นเมือง “หยิบยืม” มาจากผู้รุกราน ทั้งสิ้น ตราบจนกระทั่งในช่วงต้นทศวรรษที่ 20 เซอร์จอห์น มาร์แชล (Sir John Marshall) อธิบดีกองสำรวจโบราณคดีอินเดีย (Archaeological Survey of India) ได้ ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีของอารยธรรมฮารัปปา ที่มีร่องรอยความเจริญแบบสังคมเมือง โดยมีอายุประมาณราวช่วง 3300 - 1300 BC หลักฐานที่ค้นพบดังกล่าวเป็นหลักฐาน เชิงประจักษ์ที่มีน้ำหนักพอในการทำให้ทฤษฎีอารยันรุกรานถูกหักล้างไป แต่ในทาง กลับกันนักบูรพคตินิยมตะวันตกและนักวิชาการอินเดียกลับยังคงสนับสนุนทฤษฎีอารยัน รุกรานตามเดิม บทความนี้ต้องการนำเสนอถึงจุดเริ่มต้นของข้อเสนอเรื่องทฤษฎีอารยัน รุกราน การนำไปตีความ และข้อโต้แย้งของนักวิชาการในยุคร่วมสมัยที่มีต่อทฤษฎี ดังกล่าว

References

กรุณา เรืองอุไร กุศลาสัย. (2554). ภารตวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ศยาม.

ตุลย์ จิรโชตโสภณ. (2559). การประกอบสร้างอัตลักษณ์เชื้อชาติน า วรรณะน า และ ประวัติศาสตร์อินเดียกระแสนำด้วยวาทกรรมความเป็นอารยันในอินเดียยุค อาณานิคม. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่าย ประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา และสังคมวิทยาภาคใต้ครั้งที่ 2 “ศาสตร์แห่ง การจำศิลป์แห่งการลืม” วันที่ 25-27 สิงหาคม พ.ศ. 2559 อาคาร 58 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

บาเชม, เอ แอล. (2549). ภารตรัตนะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. แปลโดย ธิติมา พิทักษ์ไพรวัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี มหาขันธ์. (2527). ประวัติศาสตร์เอเชียใต้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช. สาวิตรี เจริญพงศ์. (2545). ภารตะยะ อารยธรรมอินเดียตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงหลัง ได้รับเอกราช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chanda, Ramaprasad. (1926). Memoir of the Archaeological Survey of India, no.31. Cacutta: Government of India Central Publication Branch.

Chanda, Ramaprasad. (1929). Memoir of the Archaeological Survey of India, no.41. Cacutta: Government of India Central Publication Branch.

Jha, D.N. (2010). Ancient India in Historical Outline. New Delhi: Manohar.

Lahiri, Nayanjot (ed). (2006). The Decline and Fall of the Indus Civilization. New Delhi: Permanent Black.

Pusalker A.D.. (1950). The Relation of Harappan Culture with the Rgveda. Proceedings of the 13th Session, Nagpur, Calcutta: Indian History Congress Associatio

Sharma, R.S. (1996). Looking for the Aryans. Reprint. Madras: Orient Longman.

Sharma, R.S. (2006). India's Ancient Past, New Delhi: Oxford University Press.

Thapar, Romila. (2008). The Aryan Recasting Constructs. New Delhi: Three Essays Collective.

Trautmann, Thomas R. (2008). Aryan and British India. Third Edition. New Delhi: Yoda Press.

Trautmann, Thomas R. (2010). The Aryan Debate. Fifth Impression. New Delhi: Oxford University Press.

Wheeler, R.E.M. (1947). Ancient India: Bulletin of the Archaeological survey of india. New Delhi: Archaeological Survey of India.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-26

How to Cite

จิรโชคโสภณ ต. (2022). ทฤษฎีอารยันรุกรานกับการล่มสลายของอารยธรรม ฮารัปปา : จุดเริ่มต้นและข้อโต้แย้งทางประวัติศาสตร์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 7(2), 63–94. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258770