การศึกษาเนื้อหาที่ปรากฏในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อะไรอะไรก็ครู”

ผู้แต่ง

  • ภาวิณี อุบล สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการพัฒนาอาชีพ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

เฟซบุ๊ก, การตั้งสถานะ,, คุณลักษณะความเป็นครู

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะของเนื้อหาที่ปรากฏในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อะไร อะไรก็ครู” เก็บข้อมูลจากเพจในช่วงระยะเวลา 6 เดือน รวมทั้งสิ้น 274 สถานะ ซึ่งผล การศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์ คือ ด้านการศึกษา ด้าน การอบรม ด้านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ด้านข่าวที่เป็นกระแสสังคม ด้านการร่วม กิจกรรมแจกรางวัล ด้านการแนะน าสาระความรู้ทั่วไปจากเว็บเพจอื่น ๆ และด้านวัน ส าคัญต่าง ๆ 2) ภาระหน้าที่ของครู คือ ด้านการเรียนการสอน ด้านงานเอกสาร ด้านงาน พิเศษ และด้านการพัฒนาตนเอง 3) เรื่องส่วนตัวครูและบุคคลที่เกี่ยวข้อง คือ ด้านความ รัก ด้านรูปร่างและบุคลิกภาพ ด้านการบริหารโรงเรียน ด้านนักเรียนและผู้ปกครอง และ ด้านจรรยาบรรณครู 4) สวัสดิการครู คือ ด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งอ านวยความสะดวก และ ด้านงบประมาณ 5) ฐานะทางเศรษฐกิจของครู คือ ด้านเงินเดือนครู และด้านหนี้สินครู

References

ยนต์ ชุ่มจิต. (2558). ความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. รัตนวดี โชติกพนิช. (2550). จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามค าแหง. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.

องค์อาจ ซึมรัมย์. (2559). ประมวลสาระชุดวิชาความเป็นครู หน่วยที่ 15 ปัญหาใน สถานศึกษาและวิชาชีพครู. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัย- ธรรมาธิราช.

นุชา มาตหนองแวง. (2562). สภาพการบริหารงบประมาณในโรงเรียน สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

นงลักษณ์ เกตุบุตร. (2555). การวิเคราะห์เนื้อหาการหาเสียงเลือกตั้ง ป พ.ศ. 2554 ผานเฟซบุกดอทคอม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขานิเทศศาสตร์ และสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุวรี ฤกษ์จารี. (2553). รูปแบบการให้ความช่วยเหลือเด็กไทยที่มีภาวะสมาธิสั้นโดยใช้ บ้านและโรงเรียนเป็นฐาน. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, สาขาวิขา วิชาจิตวิทยาให้คำปรึกษา,

เพชรด า ธนูศรี. (2539). ทำอย่างไรหนี้สินครูไทย...จะลดลง. วารสารวิทยาจารย์, (ฉบับ เดือนกันยายน), 42

สุริยา ฆ้องเสนาะ. (2558). ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก. บทความวิชาการ, สำนักงาน เลขาธิการสภาผู้แทนราชฎร, (ฉบับเดือนธันวาคม), 4.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2547). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547. สืบค้นจาก http://lertkrai.net/ivec/lawtec2547%20plus.pdf

องค์ความรู้ทางวิชาชีพทางการศึกษา. (2556). ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ พ.ศ. 2556. สืบค้นจาก http://site.ksp.or.th/download.php?site=kspknowledge&SiteMenuID=4201&Sys_Page=2&Sys_PageSize=5

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-26

How to Cite

อุบล ภ., & เลี่ยมประวัติ ส. (2022). การศึกษาเนื้อหาที่ปรากฏในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อะไรอะไรก็ครู”. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 8(1), 113–130. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258764