การก่อตัวของการเมืองมวลชนอนุรักษ์นิยมไทย ยุคทักษิณ ชินวัตร

ผู้แต่ง

  • ภาคิไนย์ ชมสินทรัพย์มั่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/husoaru.2021.2

คำสำคัญ:

การเมืองมวลชน, ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์, สถาบันการเมืองตัวแทน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการก่อตัวของการเมืองมวลชนอนุรักษ์นิยมไทยในช่วงปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2549 จากเงื่อนไขสภาวะวิกฤติสถาบันการเมืองตัวแทนในยุคทักษิณ ชินวัตร โดยใช้วิธีศึกษาจากเอกสารเป็นหลัก ใช้ทฤษฎีการเมืองมวลชนแบบข้ามชนชั้นของ Ernesto Laclau เป็นกรอบอธิบาย พบว่า 1) สถาบันการเมืองตัวแทนยุคทักษิณ ชินวัตร เกิดสภาวะวิกฤติ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการทางการเมืองให้แก่กลุ่มการเมืองต่าง ๆ ชนชั้นต่าง ๆ ได้อย่างทั่วถึง ส่งผลให้ 2) กลุ่มการเมืองเหล่านั้นเข้ามาร่วมสัมพันธ์แบบข้ามชนชั้นเพื่อเคลื่อนไหวต่อสู้กับรัฐบาล ในที่สุด 3) กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในฐานะกลุ่มผู้นำการเมือง สามารถช่วงชิงการครองอำนาจนำด้วยอุดมการณ์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทำให้การเมืองมวลชนแบบข้ามชนชั้นกลายเป็นการเมืองมวลชนอนุรักษ์นิยมไทยได้สำเร็จ

References

กนกรัตน์ เลิศชูสกุล. (2560). พัฒนาการและพลวัตรของขบวนการต่อต้านทักษิณ: จากขบวนการเสรีนิยมอันหลากหลายสู่ขบวนการอนุรักษ์นิยมเข้มข้น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กุลวีณ์ วิริโยทัย. (2552). กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ทางการเมืองของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และเควิน ฮิววิสัน. (2552). บทวิพากษ์ ‘การเมืองภาคประชาชน’ ในประเทศไทย: ข้อจำกัดของแนววิเคราะห์และยุทธศาสตร์การเมืองแบบ ‘ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่. ฟ้าเดียวกัน, 7(2), 120-155.

ธนศักดิ์ สายจำปา. (2557). การเมืองของความปรารถนากับการศึกษาการเคลื่อนไหวของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธิดารัตน์ อเนกะเวียง. (2548). วาทกรรมวิเคราะห์ของสนธิ ลิ้มทองกุลในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวาทวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญเลิศ ช้างใหญ่. (2550). วาทกรรมกำมะลอ: ภาษาการเมืองบนหน้าหนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ: มติชน.

ปณิธาน พิชาลัย. (2555). การต่อสู้ทางการเมืองของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูวมินทร์ วาดเขียน, จำเนียร ชุณหโสภาค และโยธิน แสวงดี. (2564). บทบาทของสำนักสันติอโศกในการเคลื่อนไหวทางสังคม. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(4), 434-450.

วรวรรณ อินทะรังษี. (2561). การเคลื่อนไหวทางความคิดของนักวิชาการและนิตยสารข่าวรายสัปดาห์ในวิกฤติการเมืองไทยระหว่างปี พ.ศ.2549-2553. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วัชรพล พุทธรักษา. (2549). รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอำนาจนำ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุจิกานต์ วทาทิยาภรณ์. (2553). สินค้าสัญลักษณ์ในพื้นที่เคลื่อนไหวทางการเมือง: ศึกษากรณีตลาดสินค้ากลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรศักดิ์ ศรีธรรมกุล. (2560). บทบาทของชนชั้นกับการเมืองไทยในช่วง พ.ศ.2549 - 2557. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(1), 43-58.

อัสมา หวังกุหลำ. (2553). บทบาททางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในขบวนการพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยภายใต้ระบอบทักษิณ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อิทธิพล โคตะมี. (2560). ปฏิบัติการภาษาและการสร้างความชอบธรรมในการต่อสู้ของขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองไทย พ.ศ.2549-2557. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการปกครอง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์. (2556). ปฎิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ขบวนการและขบวนการโต้กลับ: กรณีศึกษาการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มคนเสื้อแดงตั้งแต่ปี 2549-2553. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Acaroglu, O. (2020). Rethinking Marxist approaches to transition: A theory of temporal dislocation. Brill: Leiden.

Barr, R. R. (2019). Populism as a political strategy. In Carlos Torre, Routledge handbook of global populism (pp.44-56). Routledge: New York.

Bickerton, C., & Accetti, C. I. (2017). Populism and technocracy: Opposites or complements? Critical Review of International Social and Political Philosophy, 20(2), 186-206.

Case, W. (2009). Low-quality democracy and varied authoritarianism: Elites and regimes in Southeast Asia today. The Pacific Review, 22(3), 255–269.

Case, W. (2015). Routledge handbook of Southeast Asian democratization. Routledge: London.

Chambers, P. W., & Croissant, A. (2010). Monopolizing, mutualizing, or muddling through factions and party management in contemporary Thailand. Journal of Current Southeast Asian Affairs, 29(3), 3-33.

Connors, M. K. (2005). Thailand: The facts and f(r)ictions of the ruling. Southeast Asian Affairs, 365–384.

Drew, J. (1999). The politics of persuading: Ernesto Laclau and the question of discursive force. Journal of Advanced Composition, 19(2), 292-297.

Ferrara, F. (2013). The resistible rise of Thaksin Shinawatra: Crisis, change and the collapse of Thailand’s democracy. In Narayanan Ganesan, Conjunctures and continuities in Southeast Asian politics (pp.151-183). Singapore: ISEAS.

Ganesan, N. (2006). Appraising democratic consolidation in Thailand under Thaksin's Thai Rak Thai government. Japanese Journal of Political Science, 7(2), 153-174.

Hewison, K. (2005). Neo-liberalism and domestic capital: The political outcomes of the economic crisis in Thailand. The Journal of Development Studies, 41(2), 310-330.

Kongkirati, P. (2019). From illiberal democracy to military authoritarianism: Intra-elite struggle and mass-based conflict in deeply polarized Thailand. The ANNALS of the American Academy of Political and Social Science, 681(1), 24-40.

Laclau, E. (1977). Politics and ideology in Marxist theory: Capitalism, fascism, populism. London: NLB.

Laclau, E. (1990). New reflections on the revolution of our time. London: Verso.

Laclau, E. (1996). Emancipations. New York: Verso.

Laclau, E. (2005a). On populist reason. London: Verso.

Laclau, E. (2005b). Populism: What’s in the name? In Francisco Panizza, Populism and the mirror of democracy (pp.32-49). London: Verso.

Laclau, E., & Mouffe, C. (1987). Hegemony and socialist strategy: Towards a radical democratic politics. London: Verso.

McCargo, D. (2011). Toxic Thaksin? Thailand's troublesome ex-premier. Journal of Representative Democracy, 47(3), 295-306.

Mutebi, A. M. (2006). Thailand's independent agencies under Thaksin: Relentless gridlock and uncertainty. Southeast Asian Affairs, 303-321.

Peruzzotti, E. (2019). Laclau’s theory of populism: A critical review. In Carlos Torre, Routledge handbook of global populism (pp.33-43). New York: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-20

How to Cite

ชมสินทรัพย์มั่น ภ. (2021). การก่อตัวของการเมืองมวลชนอนุรักษ์นิยมไทย ยุคทักษิณ ชินวัตร. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 9(2), 31–54. https://doi.org/10.14456/husoaru.2021.2