การมีส่วนร่วมของครูบรรณารักษ์ในชุมชน แห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

ผู้แต่ง

  • นราธิป ปิติธนบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ครูบรรณารักษ์, ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

บทคัดย่อ

ครูบรรณารักษ์เป็นบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนที่มีบทบาทสำคัญใน การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการทำงานร่วมกัน ระหว่างครูผู้สอนและครูบรรณารักษ์ในการพัฒนาทักษะการสอนของครูผู้สอนและ การพัฒนาการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา บทความนี้จึงนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพในประเด็นความหมายความสำคัญและคุณลักษณะของชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ บทบาท ของครูบรรณารักษ์ในชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ ได้แก่ ความร่วมมือระหว่าง ครูผู้สอนและครูบรรณารักษ์ การบูรณาการเทคโนโลยี การส่งเสริมการรู้หนังสือและ การอ่าน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของครูบรรณารักษ์ในการเข้าร่วมชุมชนแห่ง การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

References

มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. (2563). เกี่ยวกับมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. http://thaissf.org/

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

สถาบันอาศรมศิลป์. (ม.ป.ป.). วัฒนธรรมและชุมชนแห่งการเรียนรู้. https://www.arsomsilp.ac.th/about/#culture

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2558). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ร่วมสมัย ฉบับ ราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

Brasfield, A. L. (2011). School librarian participation in professional learning communities (Master’s thesis). University of North Carolina at Chapel Hill, United States.

Cohen, S., Poitras, I., Mickens, K., & Shirali, A. (2018). Roles of the school librarian: Empowering student learning and success. https://massteacher.org/-/media/massteacher/files/employment-licensure/librarytaskforce/research-on-positive-impact/29roles_of_the_school_librarian.pdf?la=en

Cox, E. (2011). Vital conversations: Professional learning communities and school librarians. School Library Monthly, 27(7), 35-36.

Dees, D., Mayer, A., Morin, H., & Willis, E. (2010). Librarians as leaders in professional learning communities through technology, literacy, and collaboration. Library Media Connection, 29(2), 10-13.

Great Schools Partnership. (2014). Professional learning community. https://www.edglossary.org/Or/professional-learning-community/

Hord, S. M., (Ed.). (2004). Learning together, leading together: Changing schools through professional learning communities. New York: Teachers College Press.

Hunt, R. D., & Luetkehans, L. (2013). The insider: School librarians as part of a blended professional learning community for student teacher development in technology integration. School Libraries Worldwide, 19(1), 13-27.

International Federation of Library Associations and Institutions. (2015). IFLA school library guidelines. https://www.ifla.org/publications/node/9512

International Federation of Library Associations and Institutions. (2020). Guidelines for library-based literacy programs. https://www.ifla.org/files/assets/literacy-and-reading/publications/guidelines-for-library-based-literacy-programs.pdf

Pennell, S. (2008). Teacher librarians in professional learning communities. CSLA Journal, 32(1), 25-26.

Subramaniam, M. M., Ahn, J., Fleischmann, K. R., & Druin, A. (2012). Reimagining the role of school libraries in STEM education: Creating hybrid spaces exploration. Library Quarterly, 82(2), 161-182.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30