ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับประเทศอินเดียของบุคลากรในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Main Article Content

ปิยณัฐ สร้อยคำ
สิริทรัพย์ สีหะวงษ์

บทคัดย่อ

      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้และระดับทัศนคติเกี่ยวกับประเทศอินเดียและศึกษาความต้องการและความสนใจเกี่ยวกับประเทศอินเดียของบุคลากรในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีกลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำ นวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ค่า IOC= 0.99แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีค่า Kuder Richardson (KR-20) = 0.72 และแบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbrach’s alpha coeffcient) =0.85 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการรวบรวมข้อมูลนำ มาเรียบเรียงและจำ แนกอย่างเป็นระบบผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอินเดียในระดับปานกลางจำ นวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 74.00 ( =14.36, S.D.=1.98) มีทัศนคติเกี่ยวกับประเทศอินเดียในระดับปานกลาง จำ นวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00 ( =3.47, S.D.=0.43) กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการและความสนใจเกี่ยวกับประเทศอินเดียในเรื่องอาหารอินเดีย การนวดศีรษะแบบอินเดีย การแพทย์อายุรเวทการปักผ้าแบบอินเดีย โยคะ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอินเดีย และภาษาฮินดี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการต่างประเทศ. (2565). สาธารณรัฐอินเดีย. https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc1c1

e39c306000a027?cate=5d5bcb4e15e39c3060006870

กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. (2565). สถิติอัตรากำ ลังจำ แนกตามสายงานและคณะ

(จำ นวนคน). http://www.dms.ubu.ac.th/person/report/person_line.php

จิราภา สุวรรณรัษฎากร, อารีวรรณ สุขวิลัย, มยุรี ศรีกุลวงศ์, และ อรรถศิษฐ์ พัฒนะศิริ. (2561). การรับ

รู้ภาพถ่ายสถานที่ท่องเที่ยวในเฟซบุ๊กมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจท่องเที่ยวเมืองเลห์

ลาดัก ประเทศอินเดีย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6 (1), 8-13.

ชญาน์นันท์ อัศวธรรมานนท์, พระครูสมุห์ธนโชติ จิรธมฺโม, และประทีป พืชทองหลาง. (2564). รูปแบบ

การดำ เนินธุรกิจและการจัดการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมของประเทศไทย-อินเดีย.

วารสารปัญญา, 28 (2), 111-136.

นวรัตน์ สุวรรณผอง และ ฉวีวรรณ บุญสุยา. (2548). การประเมินผลการเขียน แผนงาน/โครงการด้าน

สาธารณสุข. พรทิพย์การพิมพ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). สุวีริยาสาส์น.

บัณฑิต อารอมัน และ เกณฑ์ วิฑูรชาติ. (2557). การปรับทัศนคติต่อภาพลักษณ์ของอินเดียใน

ประเทศไทย. วิทยาลัยนานาชาติปรีดีพนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปัทมา สว่างศรี และ เสกสรรค์ สว่างศรี. (2563). การจัดการเรียนการสอนภาษาฮินดีในมหาวิทยาลัย

ของไทย. Journal of Buddhist Education and Research, 6 (2), 226-238.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2562). การหาขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมสาหรับการวิจัย: มายาคติในการใช้สูตร

ของทาโรยามาเน่และเครทซี-มอร์แกน. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8 (1),

-28.

สมประวิณ มันประเสริฐ. (2564). การมาเยือนของนักท่องเที่ยวอินเดียกับโอกาสของภาคการท่องเที่ยว

ไทย. https://www.krungsri.com/ th/plearn-plearn/indian-tourist-and-thailands-tourismopportunity

สุมาลี เงยวิจิตร. (2560). มองอินเดียใหม่ ความท้าทายและโอกาสที่คาดไม่ถึง. http://km.bus.ubu.

ac.th/?p=3113

Best, W.J., & Kahn, J.V. (2006). Research in education (10th ed.). Pearson Education Inc.

World Health Organization (WHO). (2004). WHO guidelines on developing consumer information

on proper use of traditional, complementary and alternative medicine. https://apps.

who.int/iris/handle/10665/42957