การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาและวัฒนธรรม ตามเส้นทางการเรียน รู้ของหลวงพ่อเดิม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิต
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรวบรวมประวัติและความเป็นมาของทรัพยากรการ
ท่องเที่ยว ตามเส้นทางการเรียนรู้ของหลวงพ่อเดิม (2) เพื่อพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ตามเส้นทางการเรียนรู้
ของหลวงพ่อเดิม (3) เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม ภูมิปัญญา และคุณลักษณะแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้
กับทุนมนุษย์ในชุมชน ตามเส้นทางการเรียนรู้ของหลวงพ่อเดิม และ (4) เพื่อจัดทำ หนังสือการท่องเที่ยว
ตามเส้นทางการเรียนรู้ของหลวงพ่อเดิมและถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน โดยใช้การสัมภาษณ์ผู้รู้ข้อมูล
ชุมชน 3 ตำ บล คือ ตำ บลเขาทอง ตำ บลสระทะเล และตำ บลม่วงหัก จำ นวน 9 คน การฝึกอบรมเพื่อ
เพิ่มทักษะด้านมัคคุเทศก์ให้กับเยาวชน จำ นวน 96 คน ฝึกหัดครูให้เป็นผู้ช่วยวิทยากร จำ นวน 27 คน
และประชุมกลุ่มเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้นำ ชุมชนและชาวบ้าน จำ นวน 92 คน สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติ paired t-test และสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ได้แหล่งเรียนรู้เชิงพุทธศาสนาและวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น 3 แห่ง (2) ได้
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับทรัพยากรการท่องเที่ยวตามเส้นทางการเรียนรู้ของหลวงพ่อเดิม 3 เล่ม
(3) ได้มัคคุเทศก์น้อยที่มีความรู้ความสามารถจำ นวน 96 คน โดยมีคะแนนการทดสอบความรู้หลังอบรม
สูงกว่าคะแนนการทดสอบความรู้ก่อนอบรม อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อีกทั้งยังมีผลการ
ประเมินมัคคุเทศก์น้อยด้านการให้บริการนักท่องเที่ยวโดยผู้ทรงคุณวุฒิในภาพรวมอยู่ในระดับดี และ
(4) มีครูที่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนรุ่นต่อไปได้
Article Details
References
กระทรวงวัฒนธรรม. (2554). ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. www.creative
culturethailand.com
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2548). นโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาและการส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศ. http://conservation.forest.ku.ac.th
กิดานันท์ มลิทอง. (2543). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. ห้างหุ้นส่วนจำ กัดอรุณการพิมพ์.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560
- 2564). สำ นักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). สำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ.
จิระวรรณ เจียสกุล. (2557). “เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการพัฒนาประเทศ” ใน เอกสาร
การสอนชุดวิชาประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน่วยที่ 13 หน้า
-61. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ตันติกร โคตรชารี. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทย ในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาพระธาตุประจำ
วันเกิด จังหวัดนครพนม. [หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย].
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธนกฤต สังข์เฉย. (2550). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 1). คณะวิทยาการ
จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี.
ธนัทณัฏฐ์ ฉัตรภัครัตน์, ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ และวิทูรย์ วงษ์อามาตย์. (2561). การพัฒนารูปแบบแหล่ง
การเรียนรู้ชุมชนอัจฉริยะในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ
ประชาชน. สำ นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
นัดดา อังสุโวทัย. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ
นำ ตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ].
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2555). การตลาดเพื่อการท่องเที่ยว. ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
ประภัสสร ผ่องใส. (2556). ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมจากการท่องเที่ยวในวัดพระมหาเจดีย์
ชัยมงคลต่อชุมชนท้องถิ่น ตำ บลผาน้ำ ย้อย อำ เภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด [การศึกษา
อิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น].
ปาริฉัตร อิ้งจะนิล. (2554). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในรูปแบบ
ตลาดเก่า กรณีศึกษาตลาดคลองสวน 100 ปีจังหวัดสมุทรปราการ [วิทยานิพนธ์ปริญญา
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น].
พัชราภา สิงห์ธนสาร. (2563). รายงานกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย แนวทางการพัฒนาตลาด
การท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาและวัฒนธรรม อำ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ตามเส้น
ทางการเรียนรู้ของหลวงพ่อเดิม. สำ นักงานการวิจัยแห่งชาติ.
เมทิณี แสงกระจ่าง. (2551). ประสิทธิผลของนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวปีท่องเที่ยวไทย 2551-2552
ในการฟื้นฟูความเชื่อมั่นนักท่องเที่ยวต่างประเทศ. มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.
ราณี อิสิชัยกุล. (2546). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเอกสารการสอนชุดฝึกอบรมทางไกล
หลักสูตรการจัดการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยการจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิต: พิพิธภัณฑ์. ภาพพิมพ์.
วัชราภรณ์ ระยับศรี. (2551). พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงพุทธของนักท่องเที่ยวชาวไทยและ ชาวต่าง
ชาติที่มาเที่ยววัดในบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม,
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2540). โครงการดำ เนินการเพื่อกำ หนด
นโยบายการท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กองวิชาการที่ปรึกษา ศูนย์บริการ
วิชาการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.)
สามพร มณีไมตรีจิต. (2539). บทบาทวัฒนธรรมไทยกับการท่องเที่ยว. เอกสารประกอบการสัมมนาทาง
วิชาการโครงการสืบสานวัฒนธรรมไทยนิยมไทย ครั้งที่ 3. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
สุมาลี สังข์ศรี. (2555). การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำ หรับประเทศไทย. โครงการส่งเสริมการแต่งตำ รา
มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. (2557). บทวิเคราะห์การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน การศึกษาและการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต. สำ นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Goeldner, C., & Ritchie, J. R. B. (2006). Tourism: principles, practices, philosophies (10th ed.).
Wiley.
Henschke, J. A. (2008). Movement toward staying ahead of the curve in developing and managing human capital. In V. C. X. Wang & K. P. King Z. (eds.), Human performance
models in the global context (pp.1-27). Charlotte, Information Age Publishing.
Knowles, M. S. (1990). The adult learner: A neglected species (4th edition). Gulf.
Knowles, M. S. (1970). The modern practice of adult education: Andragogy versus pedagogy.
Association Press.
Smaldino, S.E., Russell, J.D., Heinich, R. & Molendo, M. (2005). Instructional technology and
media for learning (8 eds.). Courier Kendallvill, Inc.