ห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยว ห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่ลุ่มน้ำชี จังหวัดบุรีรัมย์-สุรินทร์ The Supply Chain of Experience Tourism along the Chi River Basin, Buriram - Surin Province

Main Article Content

อุบลวรรณ สุวรรณภูสิทธิ์
นิศานาถ แก้ววินัด
ธาริณี มีเจริญ
อำพล ชะโยมชัย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยว และนำ เสนอแนวทางการพัฒนา
ห่วงโซ่อุปทานการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่ลุ่มน้ำ ชี จังหวัดบุรีรัมย์-สุรินทร์ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในตำ บลที่มีพื้นที่ติดลุ่มน้ำ ชี พื้นที่ละ 20 คน
รวมทั้งสิ้น 120 คน เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่มย่อย ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
แบบสามเส้า วิเคราะห์และการตีความใช้การวิเคราะห์แก่นความคิดโดยวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย
พบว่า 1) ปัจจัยทางด้านต้นน้ำ ได้แก่ ด้านทรัพยากรและศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว ด้านคุณลักษณะ
ของแหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ ค่านิยมและวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมของชุมชน และ
ประสบการณ์และการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรทางการท่องเที่ยว ปัจจัยทางด้านกลางน้ำ ได้แก่ ที่พัก
อาศัย การเดินทางเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว การนำ เที่ยวและกิจกรรมท่องเที่ยว และอาหารและงาน
ฝีมือท้องถิ่น ปัจจัยทางด้านปลายน้ำ ได้แก่ ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว คุณค่าที่รับรู้จากการให้
บริการ ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว และการกลับมาเที่ยวซ้ำ และการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ได้แก่ การรักษาวัฒนธรรมของชุมชน คุณภาพชีวิตของชุมชน และการรักษาสภาพแวดล้อม และ
2) แนวทางการพัฒนา คือ ยกระดับปัจจัยทางด้านต้นน้ำ ของการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัยทางด้านกลาง
น้ำ ของการท่องเที่ยว ส่งเสริมการตลาดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ
ผลักดันให้แหล่งท่องเที่ยวเกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 5 การท่องเที่ยว.

http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2022/03/11_NS-05_070365.pdf

จิตศักดิ์ พุฒจร. (2564). แนวทางพัฒนาการตลาดสินค้าและบริการการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์

ท้องถิ่นของประเทศไทย. https://researchcafe.org/local-experience/

จีรนันท์ เขิมขันธ์, ปัญญา หมั่นเก็บ และณัฐพศุตม์ ภัทธิราสินสิริ. (2561). การจัดการโซ่อุปทานสำ หรับ

การท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดระยอง. วารสารสมาคมนักวิจัย, 23(3), 98-110

จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด, อังสุมาลิน จำ นงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2561). การพัฒนาการท่องเที่ยว

เชิงประสบการณ์ในพื้นที่อำ เภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 10(2), 156-187.

นาตยา เกตุสมบูรณ์และ วันทนา เนาว์วัน. (2562). ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน

ท่องเที่ยว หมู่บ้านหนองสรวง ตำ บลกระแซง อำ เภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 25(1), 81-93.

นิมิต ซุ้นสั้น และศศิวิมล สุขบท. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว

ความผูกพันกับสถานที่ ความพึงพอใจโดยรวม และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว

ชาวตะวันตกในจังหวัดภูเก็ต. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 42(1), 68-83.

ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2549). การออกแบบการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 5). สำ นัก

พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มนทิรา สังข์ทอง, ศิรวิทย์ กุลโรจนภัทร และวิชัย แหวนเพชร. (2563). รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทาน

การท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 7(2), 17-35.

สำ นักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์. (2563). เกี่ยวกับจังหวัดสุรินทร์. http://www.surin.doae.go.th/?p=691

สำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง

ชาติฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 - 2570. https://www.ldd.go.th/App_Storage/navigation/

files/23_0.pdf

สุปรียา สืบสุนทร และนิสากร คุณวงศ์. (2561). การจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนฐานความยั่งยืน.

วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์, 20(2), 269-287.

อุบลวรรณ สุวรรณภูสิทธิ์ และคณะ. (2564). การเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานกิจกรรมและเส้นทางการท่อง

เที่ยวตามรอยสมุนไพรในพื้นที่ลุ่มน้ำ ชี จังหวัดบุรีรัมย์-สุรินทร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

เอื้อมพร หลินเจริญ. (2552). การวิเคราะห์และนำ เสนอผลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. http://www.edu.tsu.

ac.th/major/eva/files/journal/DataAnalysis.pdf

Creswell, J.W. (2008). Research design, quantitative, and mixed methods approaches (3rd

edition). Sage Publications.

Pencarelli, T. & Forlani, F. (2016). Marketing of touristic districts-viable systems in the experience

economy. Sinergie Italian Journal of Management, 34(101), 199-238.

Tapper, R. & Font, X. (2004). Tourism supply chains: Report of a desk research project for the

travel foundation. Leeds Metropolitan University, Environment Business & Development

Group.