สถานภาพและแนวทางพัฒนารายวิชาภาษารัสเซียเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในหลักสูตรสถาบันอุดมศึกษาของไทย

Main Article Content

ปริตต์ อรุณโอษฐ์
ดนุพล เฉลยสุข

บทคัดย่อ

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพของรายวิชาภาษารัสเซียเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของหลักสูตรระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของไทย และวิเคราะห์แนวทางการศึกษารายวิชาภาษารัสเซียเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในหลักสูตรที่มีเรียนการสอนภาษารัสเซียในศตวรรษที่ 21 โดยพิจารณาข้อมูลจากหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนภาษารัสเซียใน 4สาขาวิชา จาก 3สถาบันการศึกษา(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำ แหง และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ผลการศึกษาพบว่า รายวิชาภาษารัสเซียเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะที่ได้รับความนิยมสามอันดับแรก ได้แก่ ภาษารัสเซีย ด้านการท่องเที่ยวและบริการ ภาษารัสเซียด้านการแปล ภาษารัสเซียด้านธุรกิจและเลขานุการแนวทางการศึกษาภาษารัสเซียเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะในอนาคตควรมีการพัฒนารายวิชาภาษารัสเซียตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21อาทิภาษารัสเซียเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ ภาษารัสเซียในมิติการแพทย์และสาธารณสุข ภาษารัสเซียในมิติภาคการเกษตรและการอาหาร ภาษารัสเซียด้านการแปล และภาษารัสเซียในมิติวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและ
การเป็นผู้ประกอบการ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2564). สู่เส้นทางสุขภาพสายประเทศไทย. http://mrd-hss.moph.go.th/

mrd1_hss/wp-content/uploads/2021/09/The-Journey-To-Thailand-Health-TourismEP.1.pdf.

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564).สถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2564.https://www.mots.go.th/

more_news_new.php?cid=628

กิตติยา เกิดปลั่ง, ฐิติมา กมลเนตร, พิชญา ติยะรัตนาชัย และพัชรีศรีใส. (2563). การพัฒนาสมรรถนะบัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษภายใต้การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(3), 1-11.

คณะกรรมการจัดทำ ยุทธศาสตร์ชาติ. (2562). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ (พ.ศ. 2561-2580). http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2019/04/12-การพัฒนาการเรียนรู้.pdf

คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2561). หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัสเซียศึกษาหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561. ได้มาจาก https://arts.tu.ac.th/uploads/_ 2561_ฉบับย่อ%20.pdf.

ชนะ กสิภาร์. (2548). เอกสารประกอบการบรรยายยุทธวิถีการพัฒนาหลักสูตรอาชีวะและเทคนิคศึกษา.เอกสารอัดสำ เนา

ณัฐชยาเฉลยทรัพย์. (2539). การพัฒนาหลักสูตรแบบเรียนและการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ.วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 36(2), 217-248.

ตรีคม พรมมาบุญู, ประชิต อินทะกนก, วนิดา หอมจันทร์, สิริลักษณ์บุ้งทอง, บุญทวีอิ่มบุญตา, ศุภธนกฤษ ยอดสละและวัชราภรณ์เรืองสิทธิ์. (2563). การพัฒนาระบบการทดสอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้นเพื่อส่งเสริมการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษ

ที่ 21. http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENT ER6/DRAWER059/GENERAL/

DATA0000/00000379.PDF

ทัตทริยา เรือนคำ และยุทธศักดิ์ ชื่นใจชน. (2559). การสำ รวจการรับรู้การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของวิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง, 5(2), 77-94.

พลิสา สุนทรเศวต. (2561). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (ESP) ในศตวรรษที่21. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 14(2), 1-26.

ภาณุภัค ผ่องอำ พันธ์. (2564). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษารัสเซียขั้นพื้นฐานสำหรับพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษา: โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา จังหวัดชลบุรี. ได้มาจาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52810156.pdf.

รมย์ภิรมนตรี. (2546) จากภาษารัสเซียถึงรัสเซียศึกษา: ความเป็นมาและความจำ เป็น. วารสารศิลปศาสตร์, 3(2), 66-84.

วัสมิลล์วัชระกวีศิลป. (2561). ภาษาเยอรมันเพื่อการเจรจาต่อรองและแบบทดสอบเฉพาะในแง่มุมการสอนภาษาเยอรมันเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะทาง. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14(2), 32-61.

ศุภรัตน์แสงฉัตรแก้วและพณกฤษ อุดมกิตติ. (2562). โครงการย่อยที่ 1: การศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกลุ่มเป้าหมายภายใต้โครงการ THE LINK.http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/id/7dfab382-4546-4d79-af93-e8c9148c33f9/MN_Suparat_Saengchatkaew+.

pdf?attempt=2.

สมพร โกมารทัต. (2555). รูปแบบการจัดการโปรแกรมภาษาญี่ปุ่นระดับอุดมศึกษาเพื่อธุรกิจนำ เที่ยว.วารสารสุทธิปริทัศน์, 26(79), 43-62.

สิรจิตต์เดชอมรชัย. (2564). การจัดการเรียนรู้ภาษาฝรั่งเศษ: ทบทวน ทิศทาง ท้าทาย. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2564). การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรทั่วราชอาณาจักร ไตรมาส 2: เมษายน-มิถุนายน 2564.สำ นักงานสถิติแห่งชาติ

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13.https://www.nesdc.go.th/download/document /Yearend/2021/plan13.pdf

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2565). การค้าไทยกับต่างประเทศ. http://impexp.oae.go.th/service/t1 .php?S_YEAR=2565&C_TYPE=1&CONTINENT_ID=88&CONTINENT_

ID=&COUNTRY_ID=RU&wf_search=&WF_SEARCH=Y.

เอนก เทียนบูชา. (2559). หลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นสมรรถนะ.วารสารจันทรเกษมสาร, 22(43),33-47.

Ageeva, J. & Wang, M. (2020). Text for specific purposes in professional communication.Philology and Culture, 2(60), 7-11.

Akisheva, A. T. (2017). The study of the professional Russian language as the most important means in mastering the chosen specialty. Pedagogika vysshey shkoly, 2(8), 89-92.

Alyunina, Y. M. & Shaklein, V.M. (2019). Russian as a foreign language for specific purposes:medical students listening skills training. Russkiy Yazyk Za Rubezhom, 1, 25-29.

Bogdanova, S. A. (2014). On the issue of creating textbooks for the study of the Russian language by foreign citizens for special purposes. Proceedings of the III International Scientific and Methodological Conference ; January 24-25, 2014(pp.26-61). Voronezh

State University.

Brand Buffet. (2564). 20 แนวโน้มตลาดงานปี ’64-’65 “จ้างงานลดลง-เงินเดือนสำคัญกว่า

Work-Life Balance-ต้อง Upskill-Reskill”. https://www.brandbuffet.in.th/ 2021/08/jobtrend-insights-2021-2022/

Detourbe, M. A. (2017). Mapping specialized domains through a wide-angled interdisciplinary approach:The case of British higher education and research. International Journal of Language Studies, 11(3), 73-94.

Dudley-Evans, T. & St. John, M. J. (1998). Development in English for specific purposes. Cambridge University press.

Hsiang, Y. H., ธนาพร ปัญญาอมรวัฒน์และอนุช สุทธิธนกูล. (2561). การพัฒนาเอกสารประกอบการสอนภาษาจีนเพื่อการสือสารสำ หรับธุรกิจโทรคมนาคม และการประเมินผลการนำ ไปใช้.วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(2), 253-263.

Hutchinson, T. & Waters, A. (1989). English for specific purpose. Cambridge University press.

Karimova, I. Kh. & Khodjayeva, M. J. (2014). Cognitive-Interactive technology of the formation of students’ business abilities in the process of Russian language studies. Bulletin of theTajik State University of Law, Business and Politics. Humanities Series, 283-293.

Kazakova, O. A. & Frik, T. B. (2019). Professional foreign language course for international students: approaches to content selection. Philological Class, 2(56), 106-107.

Partnership for 21st Century Learning. (2019). Framework for 21st century learning definitions.

https://static.battelleforkids.org/documents/p21/P21 _Framework_DefinitionsBFK.pdf.

Robinson, P.C. (1991). ESP today: A practitioner’s guide. Prentice Hall.

Salmani-Nodoushan, M. A. (2020). English for specific purposes: Traditions, trends, directions.

Studies in English Language and Education, 7(1), 247-268.

Sedova, P. V. (2015). Russian language as a means of professional communication of foreign medical students. Bulletin of Omsk State Pedagogical University. Humanities Studies, 5, 38-41.

Smit, N. L. (2018). Comparative analysis of the Russian traditional methods of teaching RFL, the project method and the European approach to teaching foreign languages for special (professional) purposes (LSP / ESP) in touristic discourse. The services in

Russia and abroad, 49(82), 6-15.

World Economic Forum. (2015). The skills needed in the 21st century. https://widgets.weforum. org/nve-2015/chapter1.html.