ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะพื้นฐาน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เครือข่ายกลุ่มโรงเรียนอำเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ science process skills, Basic, Buengkan
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ1) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านทักษะ
ขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ด้านทักษะขั้นพื้นฐาน จำ แนกตามเพศ และ3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ด้านทักษะพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำ แนกตามกลุ่มโรงเรียน ตัวอย่าง คือ นักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เครือข่ายกลุ่มโรงเรียนอำ เภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ จำ นวน 191 คน
ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น การวิจัยครั้งนี้ใช้ขั้นตอนการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5E
learning cycle model) ประกอบด้วย ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสำ รวจและค้นหา ขั้นอธิบายและลง
ข้อสรุป ขั้นขยายความรู้ขั้นประเมินความรู้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และ t-test แบบ independent sample ผลการวิจัยพบว่า
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านทักษะพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5
ภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง (Mean=19.97, SD=5.13) เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายด้าน พบว่า นักเรียน
มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมาก จำ นวน 1 ด้าน ได้แก่ ทักษะการจำ แนกประเภท
(Mean=3.60, SD=1.11),อยู่ในระดับปานกลางจำ นวน 2 ด้าน ได้แก่ ทักษะการใช้จำ นวน (Mean=3.06,
SD=1.25) และทักษะการสังเกต (Mean=2.78, SD=0.99) อยู่ในระดับน้อย จำ นวน 4 ด้าน ได้แก่
ทักษะการหาความสัมพันธ์ของสเปซกับเวลา, ทักษะจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล (Mean=2.40,
SD=1.27) ทักษะการพยากรณ์(Mean=2.30, SD=1.28)และทักษะการวัด (Mean=2.28, SD=1.03)และ
อยู่ในระดับน้อยที่สุด จำ นวน 1 ด้าน ได้แก่ ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Mean=1.14, SD=1.10)
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีเพศต่างกัน และอยู่กลุ่มโรงเรียนต่างกัน มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านทักษะพื้นฐาน ไม่แตกต่างกัน (t=0.21, ค่า sig=0.83)
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่4). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทยจำ กัด.
เกษราพรรณ แก้ววิเศษ. (2561). ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและความคิด
สร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในสังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 26
[วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].
จุฑามาศ ทองเจียว. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นบูรณาการ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา [วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา].
เบญญาภา ประชานันท์, พินิจ ขำ วงษ์และปรินทร์ชัยวิสุทธางกูร. (2561). การสำ รวจทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานคร.
รมยสาร, 16(3), 149-165.
ปพิชญา นิ่มพิลา. (2560). การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].
พิมพ์ลภัส บัวศรี. (2560). การสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการของนักเรียน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3[วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].
ภัทราปวีณ์ศรีสมพันธ์. (2561). การพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
สำ หรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุตรดิตถ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์].
มณีผ่านจังหาร. (2564). การพัฒนาแบบทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 [วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ร้อยเอ็ด, มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด].
วิจารณ์พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อนักเรียนในศตวรรษที่ 21. มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศรายุทธ จันทร์สว่าง. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม].
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). https://www.
scimath.org/ebook-science/item/8923-2018-10-01-01-59-16
สิรินภา กิจเกื้อกูล. (2565). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. สำ นักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สมเกียรติพรพิสุทธิมาศ. (2556). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสารหน่วยวิจัย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 4(1), 1-9.
สำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ:
พริกหวานกราฟฟิก.
สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ก้าวแรก การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
เป็นฐาน (Project-Based Learning: PBL). ห้างหุ้นส่วนจำ กัด เอ็น. เอ. รัตนะเทรดดิ้ง.
สุมาลีเซ็ม. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก [วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา].
อนงค์เบ้าชาลี. (2558). การพัฒนาเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำ หรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4.
[วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
กาญจนบุรี].
Best, J. W. (1977). Research in education (3rd ed). Prentice Hall.
Colly, K. E. (2006). Understanding ecology content knowledge and acquiring science process
skills through project-based science instruction. Science Activities, 43(1), 26-33.
Delors, J. (1998). Learning: The treasure within: Revised edition. Report to UNESCO of the
International Commission on Education for the 21st Century. UNESCO