ชาวจีนในมาเลเซีย: การเข้ามาและการตั้งถิ่นฐาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์การเข้ามาและการตั้งถิ่นฐานของชาวจีน
ในมาเลเซียโดยการศึกษาวิจัยเอกสาร (documentary research) ซึ่งเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในระดับ
ปฐมภูมิ และข้อมูลในระดับทุติยภูมิแล้วนำ มาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและนำ เสนอใน
รูปของการอธิบายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่าชาวจีนได้ละทิ้งแผ่นดินของตนเองด้วยเหตุผล 3
ประการคือ การเมือง ศาสนา และเศรษฐกิจ ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นเข้ามาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่
ก่อนศตวรรษที่ 14 โดยการอพยพครั้งใหญ่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 19 ชาวจีนที่เข้ามาในมาเลเซียในช่วงเวลา
ดังกล่าวมีการตั้งชุมชน 3 ย่าน ได้แก่ การตั้งรกรากบริเวณท่าเรือในเมือง การตั้งรกรากบริเวณเหมือง
แร่ และการตั้งรกรากทางการเกษตรนอกเมือง อย่างไรก็ตาม สำ หรับพัฒนาการการสร้างอัตลักษณ์ของ
ชาวจีนในมาเลเซียนั้น พวกเขาเป็นผู้ปฎิบัติการ (Social actor) ที่กระตือรือร้น สร้างสรรค์และ
มีความสามารถสูง การตีความของพวกเขาต่อความเป็นจริงทางสังคมการสร้างอัตลักษณ์นั้นมี 3
ประการคือ แหล่งความรู้ บริบท และ กระบวนการการปฏิสัมพันธ์
Article Details
References
ปริวัฒน์ จันทร. (2548). 600 ปี สมุทรยาตราเจิ้งเหอ: แม่ทัพเรือผู้กลายมาเป็นเทพเจ้า "ซำ ปอกง"
อันศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ: มติชน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. นานมีบุคส์พับลิเคชันส์.
Blythe, Wilfred. (1969). The impact of Chinese secret societies in Malaya: a historical study.
London: Oxford University Press for the Royal Institute of International Affairs.
Djao, W. (2003). Being Chinese: voices from the diaspora. The University of Arizona Press.
Lee, Y. F. (2014). Identiti Cina Malaysia: Elemen dan Pembentukan. Penerbit Universiti Malaya.
Sidek, N. (2019). Sejarah Migrasi Besar-Besaran Orang Cina ke Tanah Melayu. Iluminasi https://
iluminasi.com/bm/kisah-migrasi-besar-besaran-orang-cina-ke-tanah-melayu.html
Wang, G. (1992). Community and nation: China, Southeast Asia and Australia. Allen & Unwin.
Wang, T. (1994). Among non-Chinese. In Tu Wei-Ming. (ed.) The living tree. the changing
meaning of being Chinese today ( pp. 127-147). Standford University Press.
Yen, Ching-Hwang. (2002). The ethnic Chinese in East and Southeast Asia: business, culture
and politics. Singapore: Times academic press.
Yen, C. (1986). A social history of the Chinese in Singapore and Malaya 1800-1911.
Oxford University Press.