สินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา ตำบลยางเนิ้ง ตำบลหนองผึ้ง ตำบลสารภี อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

Tipwon Tananchai

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


            บทความวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้เพื่อศึกษาสินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมตามเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา ตำบลยางเนิ้ง ตำบลหนองผึ้ง ตำบลสารภี อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวบรวมข้อมูลจากการสนทนาและสัมภาษณ์กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 52 คน การศึกษาพบว่า เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนี้ มีสินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ ได้แก่ 1) เหมืองฝายพญาคำ 2) วัดพระนอนหนองผึ้งและพิพิธภัณฑ์ชัยสีลพุทธภิรักษ์ 3) วัดแสนหลวง 4) วัดช่างเคิ่ง 5) ศาลหลักเมืองเชียงใหม่ – ลำพูนและต้นยางนา อีกทั้งสินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ได้แก่ มรดกภูมิปัญญาจากปราชญ์และขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ไม่สามารถวัดมูลค่าทางบัญชีได้แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับหลัการทางบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์เหล่านี้ต้องปฎิบัติตามนโยบายและมาตรฐานการบัญชีภาครัฐของกระทรวงการคลัง โดยให้เปิดเผยรายละเอียดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน นอกจากนี้ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูอัตลักษณ์ สินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมให้เข้มแข็งและดำรงคงอยู่อย่างยั่งยืนที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ซึ่งต้นทุนเหล่านี้ไม่ได้ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนในกระบวนการตัดสินใจของผู้ที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับจัดการท่องเที่ยว ส่งผลให้การตั้งราคาการให้บริการการท่องเที่ยวต่ำกว่าความเป็นจริง ด้วยเหตุนี้จึงควรคำนึงถึงต้นทุนในส่วนเกี่ยวเนื่องของสินทรัพย์มรดกทางวัฒนธรรมนี้ด้วยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจของประเทศต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2562). วัฒนธรรม คุณค่าสู่มูลค่า. มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564
จากhttp://www.culture.go.th/culture_th/ewt_news.php?nid=3972&filename=index
กระทรวงการคลัง. (2561). มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 17 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ,มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ 2561. (170 -198). สืบค้นวันที่ 19 พฤศจิกายน
2564 จากhttps://saraban-law.cgd.go.th/easinetimage/inetdoc?id=show_CGD.A.22883_2_BCS_2_pdf
กระทรวงการคลัง. (2561). มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 31 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน , มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ 2561. (199-236). สืบค้นวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564
จากhttps://saraban-law.cgd.go.th/easinetimage/inetdoc?id=show_CGD.A.22883_2_BCS_2_pdf
กอบแก้ว รัตนอุบล. (2562). การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของกรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับปรุง ปีค.ศ. 2018:บทที่ 1 – บทที่ 4,วารสารวิชาชีพบัญชี, 15(47), 78-89
ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2544). เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรมและโอกาสทางธุรกิจ. วารสารนักบริหาร, 31(1), 32-37
จิตรดารมย์ รัตนวุฒ. (2556). มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการอนุรักษ์และการคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรม กรณีศึกษา การแสดงออกซึ่งศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน. วารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่น,
1(1), 135-169
ชาคริต สิทธิฤทธิ์. (2559). จับต้องได้ - จับต้องไม่ได้ : ความไม่หลากหลาย ในความหลากหลายของมรดกทางวัฒนธรรม (Tangible and Intangible : Similarities among the Diversities of the
Cultural Heritage), วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (Journal of Humanities and Social Sciences, SRU), 8(2), 141-160.
ณัฎฐพล อารีประเสริฐสุข. นักบัญชีชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. (30 พฤศจิกายน 2564).สัมภาษณ์
เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร และคณะ. (2563). การบริหารจัดการการท่องเที่ยวในเขตอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมด้านสถาปัตยกรรมในเมืองเก่า จังหวัดลำพูน แพร่ น่าน. ;วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 37(2),
38-63.
ไทยบีพีเอส. (2564). ย้อนกำเนิด "ต้นยางนา" ถนนเชียงใหม่-ลำพูน 139 ปี. สืบค้นวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 จาก https://news.thaipbs.or.th/content/308334
เพ็ญสุภา สุขคตะ. (2561). “ล้านนาศึกษา” ใน “ไทศึกษา” ครั้งที่ 13 (12) 500 ปี โคลงนิราศหริภุญไชย : คุณค่าและความทรงจำ (1). สืบค้นวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564
จากhttps://www.matichonweekly.com/column/article_73951
ภาณุเมศ ตันรักษา. (2562). หนึ่งเดียวในไทย ถนนต้นยางนาอายุกว่า 150 ปี นับพันต้น รุกขมรดกของแผ่นดิน. สืบค้นวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 จาก
https://www.m2fnews.com/news/thainews/around-thailand/48029
รัฐบาลไทย. (2564). ข่าวด้านท่องเที่ยววัฒนธรรม. สืบค้นวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/45584
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์. (2564). ข่าวสารอาเซียน. สืบค้นวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 จาก http://www.aseanthai.net/mobile_detail.php?cid=2&nid=11302
สภาวิชาชีพบัญชี. (2563). ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 48/2563 เรื่อง กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน สืบค้นวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 จาก
https://www.tfac.or.th/upload/9414/tVnkbtuw0V.pdf
สมาคมอิโคโมสไทย. (2554). กฎบัตรประเทศไทยว่าด้วยการบริหารจัดการแหล่งมรดกวัฒนธรรม. สืบค้นวันที่ 19 พฤศจิกายน 2564 จาก
http://www.icomosthai.org/THcharter/63546_Charter_updated.pdf
สยามรัฐออนไลน์. (2564). นำทุนวัฒนธรรมต่อยอดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนายั่งยืน. สืบค้นวันที่ 20 พฤศจิกายน 2564 จาก https://siamrath.co.th/n/226751
อังค์ริสา แสงจำนงค์ (2561) ความท้าทายของชุมชนเชิงมรดกทางวัฒนธรรมต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน .วารสารกระแสวัฒนธรรม, 19(36), 82-91.
Ferri, P., Sidaway, S. I., & Carnegie, G. D. (2021). The paradox of accounting for cultural heritage: a longitudinal study on the financial reporting of heritage assets of major
Australian public cultural institutions (1992–2019). Accounting, Auditing & Accountability Journal
Juliyanti, W., & Wibowo, Y. K. (2020). Accounting for heritage assets: why and how?(Literature study on cultural heritage in Indonesia). Jurnal Akuntansi, Keuangan, dan
Manajemen, 2(1), 1-11
Lin, B. (2018). The Accounting Analysis of the Intangible Cultural Heritage Enterprises’ Brand Value—Take the Chinese Medicine Industry as an Example. American Journal of
Industrial and Business Management, 8(07), 1716
Salerno, E. (2020). Identifying value-increasing actions for cultural heritage assets through sensitivity analysis of multi-criteria evaluation results. Sustainability, 12(21), 9238.