ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการส่งออกการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทยเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์

Main Article Content

เพิ่มพร ณ นคร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการส่งออกการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทยเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้บริหารจากสถานีโทรทัศน์ ผู้จัดละครโทรทัศน์และผู้กำกับการแสดง ที่เคยผลิตและเผยแพร่การผลิตซ้ำละครไทยทางสื่อโทรทัศน์ฟรีทีวีระบบดิจิทัลมาแล้วอย่างน้อย 3 เรื่อง ในช่วงปี พ.ศ. 2557-2562 จำนวน 9 คน การเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมือคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุป ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการส่งออกการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทยเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้แก่ 1) ปัจจัยภายใน ได้แก่ สถานการณ์ทางธุรกิจภายในบริษัท บุคลากร นโยบาย  งบประมาณ และเทคโนโลยีการผลิต และ 2) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สถานการณ์การแข่งขัน กระแสของผู้ชมในประเทศ วัฒนธรรม และเทคโนโลยีการสื่อสาร


คำสำคัญ: ปัจจัยการส่งออก การผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ เศรษฐกิจสร้างสรรค์

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

เพิ่มพร ณ นคร, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ประวัติการศึกษา

2559 - 2564   ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2544 - 2546   นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต  (นศ.ม.) สาขาการโฆษณา มหาวิทยาลัยศรีปทุม

2549 - 2554   นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) สาขาการโฆษณา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2537 - 2541   นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) สาขาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

2556 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำหลักสูตรนิเทศศาสตร์

                   คณะวิทยาการจัดการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2552 - 2555   Marketing Executive

                   บริษัท เมคอัพเทคนิค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

2551 - 2553   อาจารย์พิเศษ

คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนครราชสีมา

2550 - 2551   ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายการตลาดและบริการลูกค้า

                   บริษัท วีซีวี สแตนเลส จำกัด

2547 - 2549   อาจารย์โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์

                   คณะวิทยาการจัดการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

2546 - 2547   เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการตลาด : CRM

                   แผนก Tele Marketing บริษัท ออฟฟิศเมท จำกัด

2541 - 2544   เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์และแนะนำหลักสูตรเรียน

                   สถาบันสยามคอมพิวเตอร์และภาษา

 

ประวัติการอบรม

11 มิถุนายน 2564       อบรมการปฏิบัติการ การจัดสตรีมมิ่งสดด้านเนื้อหาเชิงวิชาการและเผยแพร่ไปยังสื่อสังคมออนไลน์ จัดโดย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. ร่วมกับ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

21 พฤษภาคม 2564     อบรมเชิงบรรยาย “โครงการมุ่งเป้าสู่การพัฒนานักวิจัยบนเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาการที่สูงขึ้น” จัดโดย กองการวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ในรูปแบบออนไลน์โปรแกรม ZOOM

29-30 มีนาคม 2564     อบรมผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ (หลักสูตรสำหรับผู้ไม่มีประสบการณ์) รุ่น 2 จัดโดย คปภ. รวมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

6 ตุลาคม 2563           การศึกษามูลค่าตลาดกิจการโทรทัศน์ของประเทศไทย ปี 2563 โรงแรมมิราเคิล   แกรนด์ กรุงเทพมหานคร

8, 10, 15 มิ.ย. 2563    พัฒนาศักยภาพอาจารย์มหาวิทยาลัยสู่ตำแหน่งทางวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเษม

16 มิ.ย 2562             อบรมการเขียนเขียนบทละครโทรทัศฯแนวย้อนยุค กรณีศึกษา เรื่องบุพเพสันนิวาส โดย อาจารย์แดง ศัลยา โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค

25 พ.ค. 2562            อบรมการเขียนบทละครโทรทัศน์/ภาพยนตร์ โดยนักเขียนและผู้กำกับ ลองของ คุณ ก้องเกียรติ โขมศิริ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค

22 เม.ย. 2561            อบรมหลักสูตร AMOS เพื่อการวิจัย. มหาวิทยาลัยปทุมธานี

22 ม.ค. - 20 ส.ค. 2558 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลิกภาพด้านวิจัยเพื่อความเป็นเลิศ: กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการวิจัย

18  ธ.ค. 2556            หลักสูตรธรรมาภิบาลกับการปฏิบัติราชการและสถานศึกษา 3D       

17 ธ.ค. 2556             โครงการ “หลักการออกข้อสอบ การวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน TQF”

31 มี.ค. 2557            อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เรื่อง “ระบบสารบรรณเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา”

8, 10, 15 มิ.ย. 2558    เพิ่มศักยภาพอาจารย์มหาวิทยาลัยสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

15 ต.ค. – 6 พ.ย. 2548  หลักสูตร IMC Certificated Program  โดย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต

 3 เม.ย. - 7 พ.ค. 2548  หลักสูตร Advertising Design & Creative Thinking โดย สถาบัน Net Design

31 ม.ค. - 22 ก.พ. 2548 หลักสูตร MBA in Pocket marketing     โดย BrandAge

       2537                หลักสูตรแต่งเพื่อการแสดง                   โดย สถาบันแต่งหน้า MTI

 

ผลงาน งานวิจัย/บทความวิชาการ

เพิ่มพร ณ นคร. (2560). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาหลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

เพิ่มพร ณ นคร และณัฏฐ์วัฒน์ ธนพรรณสิน.  (2564).  รูปแบบการสื่อสารของแฟนคลับนักแสดงซีรี่ส์โทรทัศน์ไทยชายรักชาย. ใน วารสาร........ (รอการตอบรับ)

เพิ่มพร ณ นคร และณัฏฐ์วัฒน์ ธนพรรณสิน.  (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการส่งออกการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทยเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์. ใน วารสาร........ (รอการตอบรับ)

เพิ่มพร ณ นคร, ธิติพัฒน์  เอี่ยมนิรันดร์ และสันทัด ทองรินทร์.  (2563, กรกฎาคม – ธันวาคม). การประยุกต์ใช้เศรษฐกจิสร้างสรรค์ในการผลติซ้ำละครโทรทัศน์ไทย. ใน วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. 10(2). 111-125.

เพิ่มพร ณ นคร, ธิติพัฒน์  เอี่ยมนิรันดร์ และสันทัด ทองรินทร์. (2563, มกราคม-มิถุนายน). การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับช่องทางการตลาดการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทย. ใน วารสารการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.  8(1). 100-127.

เพิ่มพร ณ นคร และณัฏฐ์วัฒน์ ธนพรรณสิน. (2560). การใช้ทฤษฎีบทบาทหน้าที่ของสื่อและสื่อมวลชน. ใน วารสารการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 5(2). 144-163.

ณัฏฐ์วัฒน์ ธนพรรณสิน, เพิ่มพร ณ นคร, น้ำเพชร บานชื่น และพรเพ็ญ ชวลิตธาดา (2559). สารสนเทศเกี่ยวกับนักท่องเที่ยวในอำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ, หอประชุมพระยางำเมือง:  มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้า 1512-1522

ณัฏฐ์วัฒน์ ธนพรรณสิน ปิยพัชร์ สุกใส และเพิ่มพร ณ นคร. (28-29 มกราคม 2559).  การเตรียมตัวของผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา เพื่อการเข้าร่วมเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ, หอประชุมพระยางำเมือง: มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้า 1484-1494

Nattawat Thanaphansin, Permporn Na Nakorn, Pornpen Chawalittada, Siriporn Thitalampoon.   (2015). A Study to Evaluate the Social Media Trends among University Students in Bangkok Thailand. PEOPLE: International Journal of Social Sciences, 1(2), pp. a-b.

เพิ่มพร ณ นคร.  (2552).  Product Placement in Sit. Com. ใน วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา  จ.นครราชสีมา. 1(2). 30-40.

เพิ่มพร ณ นคร.  (2548).  Subliminal.  ใน วารสารประภาคาร ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ: โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

References

กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย. (2560). ละครโทรทัศน์ไทยสำหรับชาวฟิลิปปินส์ ภายใต้กรอบทฤษฏีฐานรากมิติร่วมทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศอาเซียน. (โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม). กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
เขมิกา จินดาวงศ์. (2551). การวิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ของอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จิงฮอง ซู และพรทิพย์ เย็นจะบก. (ม.ป.ป.). การเรียนรู้วัฒนธรรมผ่านละครโทรทัศน์ไทยของนักศึกษาจีน : กรณีศึกษานักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทยในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง. การประชุมวิชาการและนำาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้ง
ที่ 6. กลุ่มด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 25-36.
ทิพาภัสสร์ คล้ายจันทร์และธีรเดช ชื่นประภานุสรณ์. (2560, พฤษภาคม-สิงหาคม). ความพึงพอใจของผู้ชมและแนวโน้มของละครโทรทัศน์หลังข่าวของช่อง 7 สี ในเขตกรุงเทพมหานคร. ใน วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. 13(2). 281-292.
ประกายกาวิล ศรีจินดา. (2558). การสื่อสารการตลาดของสถานีโทรทัศน์ ดิจิตอลระยะเริ่มต้นในประเทศไทย. สืบค้น จาก http://www.elfms.ssru.ac.th/prakaikavin_sr/file.php/1/_ 2558.pdf. สืบค้น เมื่อ 5 พฤษภาคม 2564.
พรณรงค์ พงษ์กลาง. (2561, มีนาคม - เมษายน). การปรับตัวของผู้ประกอบการโทรทัศน์ ให้อยู่ได้ในยุคทีวีดิจิทัล. ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 37(2).142-154.
พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ. (2543). นักแสดง: บทบาทและภาพลักษณ์. ใน วารสารศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ทรวิโรฒ. 2(1).160-163.
พลอยพรรณ มาคะผล. (2558). ละครรีเมกกับการถ่ายโยงเนื้อหาในละครโทรทัศน์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชราภา เอื้ออมรวนิช. (2560). การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม. ใน วารสารวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2(3). 97-102.
พิมลวรรณ เกตพันธ์, ธำรง เมฆโหราและปัญญ หมั่นเก็บ. (มป.ป.). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการส่งออกกระเจี๊ยบเขียวของไทยในตลาดโลก. ใน วาสารเกษตรพระจอมเกล้า. 30(3).1-12.
เพิ่มพร ณ นคร. (2563). การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการผลิตซ้ำละครโทรทัศน์ไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มานิต เหลาชัยและณัฐชา ผาสุก. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์สโมสรระยอง เอฟซี. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 8. 1(8). 1897-1906.
ลินิน แสงพัฒนะ. (2558). สัมพันธบทของตัวละครนางเอกในสื่อละครโทรทัศน์ กรณีศึกษา ละครโทรทัศน์เรื่องแรงเงา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
เลิศพร ภาวะสกุล. (2558). แรงจูงใจและทัศนคติที่ส่งผลต่อความพึงพอใจโดยรวมของนักท่องเที่ยวชาวจีนต่อการท่องเที่ยวประเทศไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
สุทธิวรรณ อินทะกนก. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการดำรงอยู่และการปรับตัวของละครพื้นบ้านทางโทรทัศน์ไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมนมาศ คำทอง. (2560). การวิเคราะห์ความอยู่รอดของอุตสาหกรรมทีวีดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.
สุภิญญา กลางณรงค์. (2016, 25 November). การร่วมผลิตรายการโทรทัศน์ระหว่างประเทศไทย-เกาหลี. สืบค้นจาก supinya.com/2016/11/2416/. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2563.
องอาจ สิงห์ลำพอง. (2557). กระบวนการผลิตละครโทรทัศน์. กรุงเทพฯ: สามลดา
องอาจ สิงห์ลำพอง. (2560, กรกฎาคม - ธันวาคม). การบริหารจัดการรายการโทรทัศน์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. ใน วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์. 11(2). 209-245
อรพินท์ บุญสิน. (2014). แนวทางการสร้างผลลัพธ์การผลิตสินค้าเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในภาคอุตสาหกรรม. ใน WMS Journal of Management Walailak University. 3(3). (Sep.-Dec.). 22-31.
อริสา เลิศศิริวรกุล. (2012). “ซีรี่ส์เกาหลีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Korean Series and Creative Economy)”. Executive Journal. เข้าถึงได้จาก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/exe-cutive_journal/ april_june_12/pdf/aw02.pdf.
สืบค้น เมื่อ 5 มพฤษภาคม 2564.
อลิสา ชินคงอำนาจ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรับชมรายการ The Mask Singer หน้ากากนักร้อง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัมพร จิรัฐติกร. (2561, กรกฎาคม - ธันวาคม). เศรษฐกิจเชิงอารมณ์ ของละครไทยในกัมพูชาและจีน. ในวารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา. 37(2). 97-128.
Chen, F. (2011). The research on the spreading of Thai drama in China. Master thesis Chongqing University.
McQuail, D. (2010). McQuail’s Mass Communication Theory (6th ed.). Los Angeles: SAGE Publications.
Porter, M.E. (1998). The Competitive Advantage of Nations (With a New Introduction). (n.p.): Macmillan Press.
Shim, D. (2008). The growth of Korean cultural industries and the Korean Wave.In Chua BH and Iwabuchi K (eds.) East Asian Pop Culture: Analyzing Korean Wave. Hong Kong: Hong Kong University Press. 13–31.
Toru, Ota. 2004. Producing (Post) Trendy Japanese TV Dramas. In Feeling Asian Modernities: Transnational consumption of Japanese TV dramas, edited by Koichi Iwabuchi, 69-86. Hong Kong: Hong Kong University
Press.
Verevise. C. (2004). Remaking Film. In Film Study: ReserchGate. 4(Summer 2004). 86-103.