แนวทางการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตำรายาโบราณในไทย

Main Article Content

ภัครพล แสงเงิน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาทิศทางการทำวิจัยเกี่ยวกับตำรายาโบราณในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตำรายา สมุนไพรหรือตำรับยาในตำรายาที่ปรากฏในคัมภีร์หรือเอกสารโบราณจากเอกสารและงานวิจัยตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง จำนวน 40 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่า  การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตำรายาโบราณในไทยมี 4 แนวทางสำคัญ คือ 1. งานที่มุ่งศึกษาตำรายาแผนโบราณจากต้นฉบับเอกสารโบราณประเภทต่างๆ 2. งานที่มุ่งศึกษาจากตำรายาโบราณและการสัมภาษณ์จากหมอยา 3. งานที่มุ่งศึกษาตำรายาโดยการนำทฤษฎีตะวันตกต่างๆ มาวิเคราะห์ และ 4. งานที่มุ่งศึกษาตำรายาแผนโบราณผ่านมุมมองทางการแพทย์แผนไทยและกลุ่มเภสัชศาสตร์ โดยแนวทางทั้งสี่นี้ถือเป็นแนวทางสำคัญที่มีการศึกษาในไทย และหากจะศึกษาวิจัยแนวตำรายาโบราณให้เกิดประโยชน์ควรมีการบูรณาการข้ามศาสตร์จะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการวิจัยเกี่ยวกับตำรายาโบราณ

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

ภัครพล แสงเงิน

อาจารย์ประจำหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

References

กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์, รัตติกาล รักแก้ว, ศศิธร เลิศวัฒนาเกียรติ, ณัฐวรา เดชพิชัย, อุษา โสดามุข, รัตติญา บุญใบ, และสุฑามาศ กาญจนวงศ์วณิช. (2559). การศึกษาฤทธิ์ต้านปวดและอักเสบของตำรับยาสมุนไพรไทย จากตำราโรคนิทานคำฉันท์ 11 ในเซลล์เพาะเลี้ยงแมคโครฟาจ. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 15(2), 70.
กฤษฎา ศรีธรรมา, ศรินทร์ ทองธรรมชาติและพิษณุ เข็มพิลา. (2552). การสืบค้นภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านอีสานในคัมภีร์ยาใบลาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 3(2), 13-19.
กัมพล มะลาพิมพ์. (2559). การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์แพทย์แผนไทย: พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คุณช่วย ปิยะวิทย์. (2532). ภาษาและคติความเชื่อในตำรายาพื้นบ้านจากวัดบิง ตำบลโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
จรินทร์ พลหาวงศ์. (2550). แปลคัมภีร์กิดหนาของหมอพื้นบ้านภาคใต้ อำเภอทุ่งสง จังหวัด นครศรีธรรมราช. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 5(2), 107.
จีรเดช มโนสร้อย, เดือนวิไล คำออน, สุธิดา สุมณศิริและอรัญญา มโนสร้อย. (2551). การคัดเลือกตำรับ อาหารเสริมจากฐานข้อมูลคัมภีร์ตำรายาสมุนไพรล้านนา. วารสาร การแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก, 6(2), 104.
จีรเดช มโนสร้อย, จักรพงศ์ กิ่งยอด, สุพรรณี แก้วทิพย์และอรัญญา มโนสร้อย. (2551). การจัดทำ ฐานข้อมูลตำรายาสมุนไพรล้านนา. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 6(2), 103.
จีรเดช มโนสร้อย, ชาญณรงค์ ทองคำ, มนตรี วิริยาและอาทิตย์ หอมไกล. (2551). การคัดเลือกตำรับยา บำรุงกำลังที่พบในฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรล้านนา. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก, 6(2), 105.
เจริญ ศรประดิษฐ์. (2542). รายงานการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ด้านการแพทย์พื้นบ้านจาก หนังสือบุด. สุราษฎร์ธานี : สถาบันราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ชเนฏฐ์ วัลลภขุนทอง อ้างถึงใน ประทีป ชุมพล. (2556). ประวัติ ปรัชญา นายแพทย์และตำรา ยาในแพทย์ แผนไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ชัยวัฒน์ สีแก้ว, ฉวีวรรณ คล่องศิริเวช, ถนอมจิต สุภาวิตา, ประทักษ์วัล สุขสำราญและจีรังกานต์ ปักเข็ม. (2560). การปริวรรตและการศึกษาวิเคราะห์หนังสือบุดดำภาคใต้ในรูปแบบตำรายาและคาถา ฉบับ หอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 15(2), 77.
ชัยวัฒน์ เสาทอง. (2560). คำที่มีความสัมพันธ์กับภาษาเขมรที่นำมาเป็นชื่อเครื่องยาในตำรายาฉบับตำรา พระโอสถพระนารายณ์. วารสารช่อพะยอม, 28(1), 21-30.
เชษฐา จักรไชย, กฤษฎา ศรีธรรมา, นัยนา ประทุมรัตน์, ศรินทร์ ทองธรรมชาติและอรนุช วงศ์วัฒนา เสถียร. (2560). การสังเคราะห์ภูมิปัญญาชาวบ้านในการรักษาโรคมะเฮ็ง (มะเร็ง) ที่ปรากฏในคัมภีร์ ยาใบลานอีสาน. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 15(2), 91.
เชิดชัย อุดมพันธ์. (2555). อุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคในภาษาไทยถิ่นใต้. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณรงศักดิ์ ราวะรินทร์. (2561). การใช้ครามในตำรายาโบราณ. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก, 16(2), 284-300.
นิจศิริ เรืองรังสี, ชนิดา พลานุเวช, พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญและสุชาญ ชูสุวรรณ. (2553). รายงาน การวิจัย เรื่อง ตำรายาในศิลาจารึกวัดโพธิ์: สังคายนา รวบรวมและ อธิบายความหมาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐณิชา นิมิตนนท์และจันทิดา อินเทพ. (2548). การศึกษารวบรวมองค์ความรู้สมุนไพรและยาตำรับที่ใช้ใน การสร้างเสริมสุขภาพของหมอพื้นบ้าน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว. กรุงเทพฯ : คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธวัชชัย นาใจคง. (2560). ตำราแผนนวด: การถ่ายทอดและการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงตำราราษฎร์ ตำราหลวง. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 15(2), 81.
ปิยนุช ยอดสมสวยและ สุพิมพ์ วงษ์ทองแท้. (2552). การศึกษาภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในอำเภอ องครักษ์ จังหวัดนครนายก. นครนายก : คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ประทีป ชุมพล. (2556). ประวัติ ปรัชญา นายแพทย์และตำรายาในแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียน สโตร์.
ประวิทย์ อัครเสรีนนท์. (2554). แนวทางการวิจัยสมุนไพรในไทย. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก, 9(1), 8-9.
พรรณเพ็ญ เครือไทยอมรรัตน์ เฟื่องวรธรรมและนิตยา บุญทิม. (2554). การจัดการความรู้ตำรายาพื้นบ้านล้านนา: กรณีศึกษากลุ่มโรคมะเร็งหรือบ่าเฮ็ง. เชียงใหม่: แม็กซ์พริ้นติ้ง.
พิบูล กมลเพชรและคณะ. (2541). ศึกษาการใช้สมุนไพรจากหมอสมุนไพรพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ภัทรธิรา ผลงาม. (2560). การพัฒนาตำรับยาสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรคในชุมชน. วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 37(2), 71-88.
ภารดี มหาขันธ์. (2533). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาและรวบรวมตำรายาพื้นบ้านชลบุรี. กรุงเทพฯ : กองวิจัยและวางแผน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
มณิสร วังคีรี, มนัญชยา วันเย็น, วรรณภาพร โฮกชาวนาและภัครพล แสงเงิน . (2562). วรรณกรรมเภสัช กรรมวัดนครชุม ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 ;24-25 มกราคม 2562. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. 2134-2142.
ยุธยา อยู่เย็น. (2559). พืชสมุนไพรในพระคัมภีร์ธาตุวิภังค์. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 12(2), 109-134.
รัตนา จันทร์เทาว์, พรสวรรค์ สุวรรณธาดาและสาริสา อุ่นทานนท์. (2547). รายงานการวิจัย เรื่อง การปริวรรตใบลานอีสาน: ตำรายา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.
ลัดดาวัลย์ ครูปัญญามาตย์ (บรรณาธิการ). (2558). ตำราเภสัชกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ ฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์แผนไทยเดิมฯ.
วรรณิภา พรเวธน์จินดาและคณะ. (2559). บันทึกภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน: การรักษาโรคงูสวัด กรณีหมอมี จันทะสน จังหวัดศรีษะเกษ. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 14(2), 24.
วาสินี มีเครือเอี่ยม. (2559). คำเรียกชื่อโรคในระบบการแพทย์พื้นบ้านภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์. วารสารรมยสารมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 14(1), 31-42.
ศุภชัย ติยวรนันท์และชยันต์ พิเชียรสุนทร. (2552). ศิลาจารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหารที่ สูญหาย. วารสารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 7(1), 39-53.
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี อ้างถึงใน
ลัดดาวัลย์ ครูปัญญามาตย์ (บรรณาธิการ). (2558). ตำราเภสัชกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์แผนไทยเดิมฯ.
สมบัติ ประภาวิชา, รัชนี ขัดสีใส, สุดารัตน์ ถนนแก้วและถวิล ชนะบุญ. (2546). รายงานการ วิจัยการศึกษา ตำรายาพื้นบ้านอีสาน. มหาสารคาม: สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สรวิศ เกสรมาศ, กันต์ฤทัย นาคถาวร, กชกร มุสิกพงษ์และจุฬา วิริยะบุบผา. (2562). การศึกษาการรักษา ด้วยตำรับยาสมุนไพรใน 7 กลุ่มโรค: กรณีศึกษาหมอประวิทย์ แก้วทอง จังหวัดสงขลา. วารสาร การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 17(2), 263-279.
สิงหา กรจับ. (2550). ตำรับยาภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านสุรินทร์. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก, 15(2), 100.
สายหยุด บัวทุม. (2553). การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมอายุรกรรมพื้นบ้าน ตำบลปากช่อง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(2), 1-17.
สิริขวัญ สุทธิสน, ธนากร จิวสุวรรณ, วีรพล จำปาทองและภัครพล แสงเงิน. (2562). วรรณกรรมเภสัช กรรมวัดสุนทรประดิษฐ์ ตำบลบางระกำ อำเภอบางระกำ จังหวัด พิษณุโลก: การศึกษาเชิง วิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัยครั้งที่ 8 ;24-25 มกราคม 2562. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. 2147-2161.
สุดารัตน์ ตัณฑะอาริยะ. (2548). การวิเคราะห์ตำรายาแผนโบราณจากสมุดไทยของจังหวัดพังงา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร.
สุมิตรา แสงวนิชย์และดิเรก เหมนคร. (2559). การศึกษาตำรับยาพื้นบ้านที่มีสรรพคุณแก้อาการอักเสบและ ติดเชื้อ กรณีศึกษาบ้านคลองขุด อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา. วารสารการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก, 15(2), 66.
อภิชาต คำวิเลิศและกอบชัย รัฐอุบล. (2559). ใบลานตำรายา: ภูมิปัญญาการรักษาพื้นบ้านลาว. วารสารใบลานมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 1(1), 44-50.
อภิรดา เอี่ยมอ่ำและคณะ. (2561). การศึกษาวิเคราะห์สมุนไพรในคัมภีร์พรหมปโรหิต. วารสารดำรงวิชาการ, 17(2), 137-162.
อรัญญา มโนสร้อย, จีรเดช มโนสร้อย, และอุดม รุ่งเรืองศรี. (2549). รายงานการวิจัย เรื่อง การรวบรวม เลือกสรร และปริวรรตคัมภีร์และตำรายาสมุนไพรล้านนาและการจัดทำโปรแกรมฐานข้อมูลตำรับยา สมุนไพรล้านนา. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัตถุดิบยาเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ (PCRNC) และสถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (IST) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อุษา กลิ่นหอม. (2552). งานวิจัยเรื่อง การสังคายนาตำรายาพื้นบ้านอีสาน: กรณีไข้หมากไม้. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
อุษา กลิ่นหอมและสุกัญญา นาคะวงศ์. (2554). การสังคายนาตำรายาพื้นบ้านอีสานที่บันทึกลงใบลาน. วารสารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 9(1), 20-26.