สุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธจิตวิทยาของบุคคลในองค์กรธุรกิจเครือข่าย

ผู้แต่ง

  • วิไล ถาวรสุวรรณ นักธุรกิจระดับไพลินสองผู้สถาปนาแอมเวย์ (ประเทศไทย) จำกัด
  • เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สุขภาวะองค์รวม, พุทธจิตวิทยา, องค์กรธุรกิจเครือข่าย

บทคัดย่อ

             บทความนี้นําเสนอเกี่ยวกับการจัดการสุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธจิตวิทยาของบุคคลในองค์กรธุรกิจเครือข่ายซึ่งประกอบด้วย นักธุรกิจอิสระ (Independent) สมาชิก (Member) และลูกค้า (Customer) จากกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและ ด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อรูปแบบการดำเนินชีวิตของสุขภาวะส่วนบุคคล ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ  สาเหตุจากภาวะความเครียด ความวิตกกังวล ความกดดันด้านเป้าหมายธุรกิจทั้งส่วนตัว ครอบครัวและเครือข่ายองค์กร นำไปสู่ภาวะโรคทางด้านร่างกาย และจิตใจ การจัดการสุขภาวะองค์รวมด้วยหลักพุทธจิตวิทยาและหลักจิตวิทยาเชิงบวก บูรณาการกับแนวคิดธุรกิจเครือข่าย พัฒนาศักยภาพตนเองให้รู้สติ มีปัญญา จัดการปัญหาด้วยความเข้าใจ โดยนําหลักธรรม ส่งเสริมการพัฒนา กาย วาจา ใจ เพื่อการจัดการสุขภาวะองค์รวมของรูปแบบการดำเนินชีวิตส่วนบุคคลอย่างมีคุณภาพ สร้างภูมิคุ้มกันทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้านปัญญา ด้านอารมณ์  เป็นต้นแบบของการสร้างสุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธจิตวิทยาของบุคคลในองค์กรธุรกิจเครือข่าย ขยายสู่สังคมประเทศ

References

จิรชฎา เชียงกูล และ เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ. (2566). สุขภาวะองค์รวมในการทำงานอย่างมีความสุขอย่างยั่งยืนตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 9(1), 387-389.

บริษัทแอมเวย์ (ประเทศไทย) จำกัด. วิสัยทัศน์. สืบค้น 18 ธันวาคม 2566, จาก https://www.amway.co.th/amway-vision

ประเวศ วะสี.(2550). ระบบการเรียนรู้ใหม่ ไปให้พ้นวิกฤตแห่งยุคสมัย. กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา.

พระครูสิริรัตนานุวัตร และคณะ (2559). พุทธจิตวิทยาบูรณาการ: รูปแบบและกระบวนการเสริมสร้างสุขภาวะองค์รวมของครอบครัวและสังคม (รายงานวิจัย). วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมบัณฑิต (2559). พุทธจิตวิทยากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ. (2550). ราชกิจจานุเบกษา. นนทบุรี : สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มะปราง วิรากานต์ เสณีตันติกุล. การดูแลสุขภาพองค์รวม (Holistic Health) คืออะไร?. สืบค้น 18 ธันวาคม 2566, จาก https://rlax.me/th/blog/holistic-health-best-practices

ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์. (2552). จิตวิทยาแนวพุทธ. กรมสุขภาพจิต: กระทรวงสาธารณสุข.

โรงพยาบาลศิครินทร์ ทีมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญโรงพยาบาลศิครินทร์. โรคอ้วนภาวะอันตรายเสี่ยงหลายโรค. สืบค้น 18 ธันวาคม 2566, จาก https://www.sikarin.com/health/

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. ผลกระทบด้านบวกต่อสภาวะแวดล้อม. สืบค้น 18 ธันวาคม 2566, จาก https://www.mtec.or.th/bioplastic/environmental-impact/

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2562). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 35). กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.

“_______”. (2564). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (พิมพ์ครั้งที่ 56). กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิก จำกัด.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ประมาณการแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2566. สืบค้น 18 ธันวาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/s93eW

อัจฉรา วิเศษวร และพุทธชาต แผนสมบุญ. (2565). สุขภาวะองค์รวม: ผู้สูงวัยป่วยกายไม่ป่วยใจตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 8(1), 435-436.

Handbook and Classification. (2004). American Psychological Association. Oxford University Press.

WHO. 1998. Adelaide Recommendation on healthy Public Policy. WHO: Geneva.

“_______”. 2005. Health Impact Assessment Toolkit for Cities Document 1 Vision to Action. WHO: European.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-13

How to Cite

ถาวรสุวรรณ ว., & อุดมธรรมานุภาพ เ. (2024). สุขภาวะองค์รวมตามแนวพุทธจิตวิทยาของบุคคลในองค์กรธุรกิจเครือข่าย. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 10(1), 337–355. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/274486