ถอดรหัสปาฏิหาริย์ : เทวดาตามแนวทางพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • รัตนวดี สุระบัญชาการ บริษัท สุทธิพรก่อสร้าง จำกัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร
  • สิริวัฒน์ ศรีเครือดง ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • มั่น เสือสูงเนิน

คำสำคัญ:

ถอดรหัส, ปาฏิหาริย์, เทวดา, พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

            บทความนี้มุ่งเสนอให้เห็นถึงแนวความคิดและหลักการปฏิบัติที่ควรจะเป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับความเชื่อในเรื่องของปาฏิหาริย์และเทวดา ในทางพระพุทธศาสนาปาฏิหาริย์มี 3 แบบด้วยกันคือ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทศนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์ โดยปาฏิหาริย์ 2 แบบแรกนั้น ไม่ได้เป็นตัวหลักที่จะนำพาเราเข้าสู่พระพุทธศาสนา เก่งแค่ไหนก็ยังไม่สามารถเอาชนะกิเลสที่ครอบงำจิตใจตนและไม่สามารถทำให้พ้นทุกข์ได้ ส่วนปาฏิหาริย์แบบที่ 3 ถือเป็นปาฏิหาริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแล้วที่จะทำให้ชีวิตมนุษย์สามารถก้าวขึ้นมาเป็นคนที่พ้นทุกข์ได้อย่างเด็ดขาด และความมุมานะพยายามของตัวเราเองนี่แหละที่จะทำให้ปาฏิหาริย์เกิดขึ้นได้ ดังนั้น มนุษย์ไม่ควรอ้อนอ้อนขอพร หรือรอคอยปาฏิหาริย์จากสิ่งที่เหนือธรรมชาติและเทวดา เทวดาที่ดีนั้นท่านจะคอยสอดส่องช่วยเหลือคนที่มุ่งมั่นทำความดีอยู่แล้ว มนุษย์ควรตอบแทนท่านด้วยการระลึกนึกถึงท่าน ทำเทวตาพลีอุทิศบุญให้แก่เทวดา อยู่ด้วยกันอย่างมีมิตรไมตรีต่อกันเป็นดีที่สุด

References

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2564). การเข้ารหัสลับ. สืบค้น 6 ธันวาคม 2564, จาก https://shorturl.asia/JPZgz

กรมศิลปากร. (2564). เทวดาในวัฒนธรรมไทย. สืบค้น 13 ธันวาคม 2564, จาก https://shorturl.asia/jDSOT

กันต์กวินต์ ทัดทาน. (2561). ศึกษาความเชื่อเรื่องเทวดาที่มีอิทธิพลต่อล้านนา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระนครศรีอยุธยา.

ธ.ธรรมรักษ์. (2564). จะเกิดเป็นเทวดาได้อย่างไร. สืบค้น 13 ธันวาคม 2564, จาก https://torthammarak.wordpress.com/2013/09/20/จะเกิดเป็นเทวดาได้อย่า-2/

นิเวศน์ เหมวชิรวรากร. (2566). ปาฏิหาริย์. สืบค้น 08 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://blog.settrade.com/blog/nivate/2017/06/20/1909

ประวิทย์ จำปาทอง. (2564). รู้จักรึยังเทวดา 10 ประเภท. สืบค้น 13 ธันวาคม 2564, จาก http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=14972.0;wap2

พจนานุกรมสนุกดอทคอม. (2565). ถอดรหัส. สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565 จาก https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-th-royal-institute/ถอดรหัส

พระมหาศิริวัฒน์ สิริวฑฺฒโน และ ประยงค์ จันทร์แดง. (2552). การศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาทของเทวดาที่ปรากฏในคัมภีร์พระสุตตันตปิฎก (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี.

พิชัย สุขวุ่น. (2555). ปาฏิหาริย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 4(1), 208-224.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2566). ปาฏิหาริย์แห่งการตื่นอยู่เสมอ: หรือปาฏิหาริย์ของติช นัท ฮันห์จะไม่มีจริง?. สืบค้น 8 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.the101.world/thich-nhat-hanh/

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2529). พระไตรปิฎก ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหัธโน. (2554). ความเข้าใจที่ถูกต้องกับบทบาทของเทวดาในพุทธศาสนา. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/53859

ราชบัณฑิตยสถาน. (2565). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://dictionary.orst.go.th/

ลานธรรมจักร. (2564). ความสัมพันธ์แบบชาวพุทธระหว่างมนุษย์กับเทวดา. สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2566, จาก http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?f=1&t=60302

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตตฺโต). (2563). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (พิมพ์ครั้งที่ 54). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

สรวง สิทธิสมาน. ชีวิตและปาฏิหาริย์. (2565). สำนักข่าวอิศรา. สืบค้น 9 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://isranews.org/isranews-article/68353-aticle-68353.html

สมเด็จพระญาณวชิโรดม (วิริยังค์ สิรินฺธโร). (2563). หลักสูตรครูสมาธิ (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ : บริษัท ประชาชน จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29

How to Cite

สุระบัญชาการ ร., ศรีเครือดง ส., & เสือสูงเนิน ม. (2023). ถอดรหัสปาฏิหาริย์ : เทวดาตามแนวทางพระพุทธศาสนา. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 9(1), 407–416. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/266322