ศรัทธากับปัญญา : วิเคราะห์มุมมองในพุทธปรัชญาเถรวาท

ผู้แต่ง

  • พระมหาไพจิตร อุตฺตมธมฺโม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ศรัทธา, ปัญญา, พุทธปรัชญาเถรวาท

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้ มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์เรื่องศรัทธากับปัญญาที่เป็นหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท ที่มีคุณค่าและมีประโยชน์อย่างมากในพระพุทธศาสนา ศรัทธากับปัญญา จัดเป็นหัวข้อธรรมที่มีความสำคัญและมีประโยชน์ในการวิเคราะห์หลักธรรมอย่างแยบคาย โดยวิธีการปฏิบัตินั้นต้องมีความเชื่อเป็นพื้นฐานเมื่อมีศรัทธาแล้วบุคคลจะให้ความสนใจและประพฤติตามกฎเกณฑ์ และหลักธรรมนั้น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะนำไปสู่ปัญญาอันประเสริฐ  ศรัทธากับปัญญาในพุทธปรัชญาเถรวาท มีการมุ่งเน้นเริ่มตั้งแต่ให้มนุษย์เรามีการพัฒนาอย่างเป็นลำดับเพื่อให้เกิดผลที่บริบูรณ์ และส่งผลให้การดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมโลกมนุษย์อย่างมีความปกติสุข หยั่งรากฝั่งลึกลงในจิตใจของบุคคลไม่ให้ยึดติดหลงงมงาย แต่จะสร้างให้บุคคลเป็นผู้ประกอบด้วยเหตุผล โดยที่ไม่มีความหลงเคลือบแคลงสงสัยหลงเหลืออยู่ เมื่อพิจารณาแล้วก็จะพบว่า ศรัทธากับปัญญาเป็นธรรมที่สามารถทำให้ผู้ประพฤติ ปฏิบัติเข้าถึงความสุขได้จริงในระดับหนึ่งและสามารถนำพาตนไปสู่การบรรลุธรรมในชั้นสูง ๆ อีกต่อไปได้เป็นอย่างดี ศรัทธากับปัญญาจึงมีความสำคัญมากและเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติตนให้มีการดำเนินชีวิตที่ดีได้เป็นอย่างดี

References

กรมศาสนา. (2525). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมการศาสนา.

กองวิชาการมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2515). มิลินทปัญหา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

คูณ โทขันธ์. (2545). พุธศาสนากับสังคมวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ โอ.เอส.พรินติ้ง เฮาร์.

ณรงค์ฤทธิ์ ศรีรัตโนภาส. (2563). ศรัทธากับปัญญา. สืบค้น 9 เมษายน 2565, จาก https://www.naewna.com/columnonline/45906

ทองย้อย แสงสินชัย. (2557). บาลีวันละคํา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

นำโชค อุ่นเวียง. (2564). ศรัทธาและปัญญาในพระพุทธศาสนา. สืบค้น 9 เมษายน 2565, จาก https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34752

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2531). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.

“_______”. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬากรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์: ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระโสภณคณาภรณ์ (ระแบบ ฐิตญาโณ). (2522). พระพุทธศาสนาปริทรรศน์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2533). ใจความสำคัญแห่งคู่มือมนุษย์. กรุงเทพฯ: หจก.ภาพพิมพ์.

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร). (2515). มงคลยอดชีวิต. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.

สุมณฑา คณาเจริญ. (2548). ศรัทธาในพระพุทธศาสนา. วารสารวงการครู 2(18), 98 – 101.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2536). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

“_______”. (2551). มิลินทปัญหา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พุทธธรรม: ฉบับปรับขยาย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ผลิธัมม์.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2515). พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เกษมบรรณกิจ.

สุรพศ ทวีศักดิ์. (2552). การพัฒนา "ปัญญา" และ "สังคมแห่งปัญญา". สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565, จาก https://prachatai.com/journal/2009/08/25556

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-11

How to Cite

อุตฺตมธมฺโม พ. . (2022). ศรัทธากับปัญญา : วิเคราะห์มุมมองในพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 8(1), 449–466. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/260039