พุทธจิตวิทยาเพื่อการฟื้นฟูพลังจิตใจผู้ผิดหวังในความรัก
คำสำคัญ:
พุทธจิตวิทยา, ฟื้นฟูพลังจิตใจ, ผิดหวังในความรัก, ความรักบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำหลักพุทธธรรม ได้แก่ การคิดแบบอริยสัจ สติสัมปชัญญะ พรหมวิหาร 4 และแนวคิดทางจิตวิทยา ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม ความเมตตากรุณาต่อตนเองและภูมิต้านทานทางอารมณ์และจิตใจ มาประยุกต์ใช้เพื่อฟื้นฟูพลังจิตใจผู้ผิดหวังในความรักด้วยการเสริมสร้างสัมมาทิฏฐิ มุ่งประโยชน์เพื่อให้ผู้ผิดหวังในความรัก ยอมรับและเข้าใจสาเหตุของความทุกข์ตามความเป็นจริง มีแนวทางปฏิบัติเพื่อให้บรรลุถึงการดับทุกข์หรือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในจิตใจให้หมดสิ้นไป การฟื้นฟูพลังจิตใจผู้ผิดหวังในความรักตามหลักพุทธจิตวิทยาจะทำให้มีความเข้มแข็งทางจิตใจ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์สามารถปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุลได้อย่างรวดเร็วและปรับใจให้เจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ เป็นปัจจัยปกป้องช่วยลดความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายเพราะการฟื้นฟูพลังจิตใจตามหลักพุทธจิตวิทยาจะทำให้มองเห็นคุณค่าของชีวิต ไม่คิดทำร้ายตนเองและพร้อมดำเนินชีวิตต่อไปตามวิถีที่ถูกต้องดีงาม มีเจตคติต่อความรักแบบเมตตาและกรุณา
References
กรมสุขภาพจิต. (2563). ปัญหาความสัมพันธ์-เศรษฐกิจ-โรคประจำตัว ปัจจัยเสี่ยงฆ่าตัวตายสืบค้น 14 กันยายน 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30143
______. (2563). ปัญหาพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย. สืบค้น 14 กันยายน 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2287
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล. (2552). จิตวิทยาแนวพุทธ: แนวทางเพื่อการเยียวยาและพัฒนาจิตใจมนุษย์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 29(4), 192-193.
เทวิกา ประดิษฐบาทุกา, ผศ.ดร. (2557). เรื่องราวของความรัก. สืบค้น 2 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.gotoknow.org/posts/561277
ธนพงศ์ อุทยารัตน์. (2560). การพัฒนามาตรวัดการคิดแก้ปัญหาในบริบทพุทธธรรมของนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.
ธีระธรรม ทองโมถ่าย. (2562). รูปแบบการเยียวยาเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจตามแนวพุทธจิตวิทยาของสตรีที่ผิดหวังในความรัก. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระนครศรีอยุธยา.
ปิยนุช ชมภูกาศ. (2560). ความเมตตากรุณาต่อตนเอง: จากแนวคิดหลักพุทธธรรมสู่การพัฒนามาตรวัด. วารสารวัดผลการศึกษา, 34(95), 1-14.
ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร, ดร. (2563). 5 ลำดับการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ต่อความสูญเสียในชีวิต. สืบค้น 2 กรกฎาคม 2564, จาก https://drpiyanan.com/2020/06/09/5-stages- of-grief-rose-and-kessler/
แผนกจิตเวช โรงพยาบาลเพชรเวช. (2563). อกหัก อาการที่อธิบายได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564. จาก https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/heartbroken_love
พระครูสังฆรักษ์ทวี อภโย. (2563). พุทธจิตวิทยาสำหรับคนชายขอบ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(8), 17.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2536). ความรัก จากวาเลนไทน์ สู่ความเป็นไทย. กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย.
พระอธิการประกาสิทธิ์ สุจิณฺโณ (กลิ่นชื่น). (2561) . ศึกษาสติสัมปชัญญะที่ปรากฎอยู่ในโพธิปักขิยธรรม ในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สืบค้น 2 กรกฎาคม 2564, จาก http://lp.mcu.ac.th/userfiles/file/2562/MCU62020826.pdf
พุทธทาสภิกขุ. (2549). สัมมาทิฏฐิ. สืบค้น 14 กันยายน 2564, จาก http://www.buddhadasa.org/files/pdf/B_new/new074.pdf
ไพศาล แย้มวงษ์. (2555). การศึกษาการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ออนไลน์). สืบค้น 2 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd15.htm
ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์, นพ. (2552). จิตวิทยาแนวพุทธ. สืบค้น 8 กันยายน 2564, จาก http://medinfo2.psu.ac.th/cancer/db/news_ca.php?newsID=132&typeID=22&form=9
รัตน์นที วิโรจน์ฤทธิ์. (2559). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความสุขในความรักตามหลักพุทธจิตวิทยา. (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระนครศรีอยุธยา.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 41). กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.
______. (2562). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (พิมพ์ครั้งที่ 52). กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.
สาหร่าย เพชรอักษร, พรรณระพี สุทธิวรรณ, อัจฉรา จันทร์ฉาย และพีระพนธ์ โสพัศสถิตย์. (2559). การศึกษาความต้องการในการใช้แอปพลิเคชั่นเพื่อช่วยการฟื้นฟู้จิตใจของตนเองจากการผิดหวังจากความรัก (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2564, จาก http://www.hu.ac.th/conference/conference2016/proceedings/data/4-1.pdf
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2554 (ออนไลน์). สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก http://dictionary.orst.go.th/
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บียอนด์พับลิสชิ่ง.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2560). การเตรียมพร้อมสู่การทำงานอาสาสมัครและพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการจัดการสุขภาวะตนเองที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของอาสาสมัครของบุคลากรมหาวิทยาลัย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Dyer, J.G.; & Mc Guinness. T.M. (1996). Resilience: Analysis of the concept. Archives Of Psyciatric Nursing, 10(5), 276-282.
Grotberg, E. H. (2005). Resilience for Tomorrow. Retrieved July 2, 2021, from http://Resilent.uluc.edu/library/grotberg2005_resilience-for-tomorrow-brazil.pdf
Kubler-Ross. E. (1969). On grief and Grieving. Retrieved July 2, 2021, from http://grief.com/the-five-stages-of-grief
Lu (Lucy) Yan. (2018). Good Intentions, Bad Outcomes: The Effects of Mismatches between Social Support and Health Outcomes in an Online Weight Loss Community. Journal of Production and Operations Management Society, 27(1), 9-27, Abstract. Retrieved March 1, 2021, from https://doi.org10.1111/poms.12793
Saul McLeod. (2020). Maslow's Hierarchy of Needs. Retrieved March 1, 2021, From https://www.simplypsychology.org/maslow.html
Sternberg Robert J. (2004). “A Triangular Theory of Love”. In Reis, H. T.; Rusbult, C.E. Close Relationships. New York: Psychology Press.
Thoits, P. A. (1982). Conceptual, methodological, and theoretical problem in Studying social support as a buffer against life stress. Journal of Health and Social Behavior, 145-149