สูงวัยอย่างสง่างามตามหลักพุทธจิตวิทยา

ผู้แต่ง

  • สุวรรณี ไวท์ หลักสูตรพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สุวัฒสัน รักขันโท สาขาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สิริวัฒน์ ศรีเครือดง สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พุทธชาติ แผนสมบุญ สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

Buddhism, Elderly, Dignified, Buddhist Psychology

บทคัดย่อ

         บทความวิชาการเรื่อง สูงวัยอย่างสง่างามตามหลักพุทธจิตวิทยา เป็นการสร้างความสุขของผู้สูงวัยผ่านกระบวนการการสร้างความสุขทางด้านจิตวิทยา และความสุขทางพระพุทธศาสนา โดยการบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาสภาพกายและสภาพใจของผู้สูงวัยให้ดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างสง่างาม โดยได้นำเสนอประเด็น การสร้างความสุขทางกาย การสร้างความสุขทางใจ และการสร้างความสุขในสังคม ซึ่งเป็นกระบวนการในการส่งเสริมซึ่งกันและกัน และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนวิถีชีวิตของผู้สูงวัยในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างไม่เป็นภาระให้กับผู้อื่นแต่เป็นผู้สูงวัยที่เต็มไปด้วยคุณภาพและความสง่างาม

References

กรมกิจการผู้สูงวัย.(2564). สถิติผู้สูงวัย. สืบค้น 17 มีนาคม 2564, จาก http://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/335

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2564). 93 วันสู่สังคม"คนชรา" 5 จังหวัด? คนแก่เยอะสุด-น้อยสุด. สืบค้น 17 มีนาคม 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news- dmh/view.asp?id=30453

ชาญวิทย์ วสันต์ ธนารัตน์. (2556). มาสร้างองค์กรแห่งความสุขกันเถอะ. กรุงเทพฯ: บริษัท สองขาครีเอชั่น จำกัด.

ธิดารัตน์ มิ่งสมร. (2561).ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงวัย. สืบค้น 20 ตุลาคม 2563, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/41684-

นุชลี เฉิดสมบูรณ์. (2558). คุณภาพชีวิตผู้สูงวัยเขตเทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี.

ปนัดดา นามสอน. (2563). สุขภาพ. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://healhtycear.blogspot.com

พระมหาวิเชียร สุธีโร. (2562). ความสุขในทัศนะของพระพุทธศาสนา. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม, 4(1): 42.

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร และคณะ. (2558). การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดความสุขของประชาชนตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา (รายงานการวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงวัย. (2563). สถานการณ์ผู้สูงวัยในประเทศไทย (ด้านประชากร). สืบค้น 25 พฤษภาคม 2563, จาก https://fopdev.or.th

อารีย์ เสนาชัย. (2559).การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงวัย. สืบค้น 20 ตุลาคม 2563, จาก https://www.gotoknow.org/posts/32432

อัจศรา ประเสริฐสินและคณะ.(2561). สุขภาวะของผู้สูงวัย แนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารสุขศึกษา, 41(1): 4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-05