สุขเกษียณด้วยหลักธรรมตามแนวพุทธจิตวิทยา

ผู้แต่ง

  • อำไพ ลีละรัตนวงศ์ คณมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาล้ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สุวัฒสัน รักขันโท คณมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาล้ยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เกษียณ, ความสุข, พุทธจิตวิทยา

บทคัดย่อ

          การเกษียณอายุงานนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ อันจะนำมาซึ่งความเจ็บป่วยทางกาย และนำไปสู่การลดคุณค่าในตนเอง หลักธรรมตามคำสอนทางพุทธศาสนามีมากมายที่สามารถนำมาใช้เพื่อการปรับตัวสำหรับผู้เกษียณอายุงาน ได้แก่ อิทธิบาท 4 โลกธรรม 8 อริยวัฑฒิ 5 และโยนิโสมนสิการ หลักสำคัญ คือ การปรับเปลี่ยนความคิดตามหลักโยนิโสมนสิการเพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขตามวัยวุฒิและจิตวุฒิ ที่เพิ่มขึ้น

          หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา สามารถนำมาปรับใช้ได้ทุกสถานการณ์ “อิทธิบาท 4” ผสมกับอริยวัฑฒิ 5 โดยใช้หลักการคิดแบบ “โยนิโสมนสิการ” ด้วยการคิดและมองเห็นชีวิตว่าการเกษียณเป็นส่วนหนึ่งในโลกธรรม 8 เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงภาวะหนึ่งเท่านั้น มิใช่การจบการรับรู้ความสามารถและนำมาลดคุณค่าในตนเอง ในทางตรงข้ามควรมองว่าการเกษียณถือเป็นโอกาสอันดีในการสร้างคุณค่าในตนเองเพิ่มขึ้น บทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขด้วยหลักพุทธจิตวิทยา

References

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). กลุ่มวัยทำงาน : ระบบสารสนเทศสนับสนุนด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 18 มิถุนายน 2564, จาก http://dashboard.anamai.moph.go.th/workingage?year=2020

ประทีป ทับอัตตานนท์. (2562). สิทธิของผู้สูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท กรุงสยาม พับลิชชิ่ง จำกัด.

เพ็ญประภา เบญจวรรณ. (2555). การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1: มกราคม-มิถุนายน), 84.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 41). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

“_________”. (2562). ธรรมะสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจริญดีมั่นการพิมพ์.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2554 (ออนไลน์). สืบค้น 18 มิถุนายน 2564, จาก https://dictionary.orst.go.th/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2550). มาตรฐานสถิติแห่งชาติ. สืบค้น 18 มิถุนายน 2564, จาก http://statstd.nso.go.th/definition/projectdetail.aspx?periodId=89& defprodefId=1176

Avail. (2019). The Six Stages of Retirement. สืบค้น 19 มิถุนายน 2564, จาก https://avail.app/public/articles/ByLYc1dU

Cambridge Dictionary. (2021). Retirement. Retrieved June 19th, 2021, from https://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/retirement

Donnaya Suvetwethin. เข้าสังคมสูงวัย ไม่เกษียณก็มีผลกระทบ. สืบค้น 18 มิถุนายน 2564, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/47722-เข้าสังคมสูงวัยไม่เกษียณก็มีผลกระทบ.html

Elevage partners. (2020). Three types of retirement and how to plan for each. Retrieved June 19th, 2021, from https://elevagepartners.com/three-types-of-retirement-and-how-to-plan-for-each/

Luke Wayne Henderson, Tess Knight & Ben Richardson. (2013). An exploration of the well-being benefits of hedonic and eudaimonic behaviour. The Journal of Positive Psychology, 8(4), 322-336.

Mike Oppland. (2021). 8 Ways To Create Flow According to Mihaly Csikszentmihalyi. Retrieved June 19th, 2021, from https://positivepsychology.com/mihaly-csikszentmihalyi-father-of-flow/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29

How to Cite

ลีละรัตนวงศ์ อ., & รักขันโท ส. (2021). สุขเกษียณด้วยหลักธรรมตามแนวพุทธจิตวิทยา. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 7(1), 455–466. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/253259