สุขภาวะแนวทางพุทธของผู้สูงวัย

ผู้แต่ง

  • ตระกูล พุ่มงาม หจก.จันทิมาก่อสร้าง
  • สุวัฒสัน รักขันโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สุขภาวะ, สุขภาวะแนวพุทธ, ผู้สูงวัย

บทคัดย่อ

          สุขภาวะแนวทางพุทธของผู้สูงวัย ประกอบด้วยองค์รวมในการดำเนินชีวิต 3 ด้าน คือ 1) การควบคุมผัสสะที่เกิดขึ้นกับตัวเราให้อยู่ในขอบเขตของความพอเหมาะพอดี มีสติ ควบคุมการกระทำทั้งกาย วาจา ใจ 2) มีเจตนาดีในการกระทำ การติดต่อกับโลกภายนอก 3) การมีปัญญาที่ดี คือ เข้าใจเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อตัวเรา

          เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่ในสังคม จึงต้องปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายในครอบครัวและโลกภายนอก ซึ่งมีความซับซ้อนจนก่อให้เกิดความเครียด ความทุกข์ใจขึ้น ซึ่งทั้ง 3 ด้านนี้ จะเกิดขึ้นได้ด้วยการปฏิบัติตนให้อยู่ในศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งได้มาด้วยการมีศรัทธาต่อพุทธศาสนา จนน้อมนำไปสู่การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ศึกษาหลักธรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อริยมรรคมีองค์มรรค 8 ได้อย่างถ่องแท้ เข้าใจหลักการของธรรมเหล่านั้นอย่างถูกต้อง จนจิตเกิดความสงบจนสามารถวิเคราะห์เหตุแห่งทุกข์นั้นและแก้ทุกข์นั้นด้วยปัญญาได้

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2549). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

มติชนออนไลน์. (2562). 10 วิธี สูงวัยแบบแฮปปี้ แฮปปี้ ใช้ชีวิตบั้นปลายมีคุณภาพ. สืบค้น 18 มิถุนายน 2564, จาก https://www.matichon.co.th/lifestyle/health-beauty/news_1594310

สันต์ ใจยอดศิลป์. (2564). รายการ Wellness We care center. เข้าถึง 17 มิถุนายน 2564, จาก https://youtu.be/jPXRj0zJFV0

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. สืบค้น 17 มิถุนายน 2564, จาก https://www.dms.go.th/backend//Content/Content_File/Information_Center/Attach/25621124013609AM_17.pdf

Adams. (1997). The perceived wellness model. สืบค้น 10 มิถุนายน 2564, จาก https://www.researchgate.net/figure/The-perceived-wellness-odel-

Jane E. Myers, Thomas J. Sweeny, and J. Melvin Witmer. (2000). The Wheel of Wellness Counseling for Wellness: A Holistic Model for Treatment Planning. Retrieved June 19th, 2021, from https://libres.uncg.edu/ir/uncg/f/J_Myers_Wheel_2000.pdf

Qian-Li Xue. (2012). The Frailty Syndrome: Definition and Natural History. Retrieved June 19th, 2021, from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3028599/

Ryff. (1989). Ryff's model ; Six-factor Model of Psychological Well-being. สืบค้น10 มิถุนายน 2564, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Six- factor_Model_of_Psychological_Well-being

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29

How to Cite

ตระกูล พุ่มงาม, & สุวัฒสัน รักขันโท. (2021). สุขภาวะแนวทางพุทธของผู้สูงวัย. วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 7(1), 467–480. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/253147