การส่งเสริมความรัก ความอบอุ่น ความเอาใจใส่ในครอบครัวและชุมชนเชิงพุทธ

ผู้แต่ง

  • ณัฐรดา แฮคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
  • สิงห์คำ รักป่า มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

การส่งเสริม, ความรัก, ความอบอุ่น, ครอบครัว, ชุมชน

บทคัดย่อ

          ปัญหาครอบครัวไทยด้านต่าง ๆ ถูกนำเสนอในสื่อต่าง ๆ แสดงให้เห็นว่าครอบครัวไทยขาดการส่งเสริมความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ซึ่งเป็นการแสดงออกที่สมาชิกในครอบพึงแสดงต่อกันอย่างจริงใจ  สถาบันการศึกษาและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับครอบครัวได้พยายามแก้ไขปัญหาครอบครัวในรูปแบบต่าง ๆ งานวิจัยด้านชุมชน สาธารณสุข กรมสุขภาพจิต ได้นำเสนอโครงการและโปรแกรมการสร้างความอบอุ่นในครอบครัว เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับสมาชิกในครอบครัว

          พระพุทธศาสนาเป็นหนึ่งในสถาบันหลักของประเทศ คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีหลักคำสอนที่ชัดเจนและเหมาะกับการอบรมกล่อมเกลาให้สมาชิกในครอบครัวเป็นสมาชิกที่รู้ถึงบทบาทของตนเองในครอบครัวคือ วินัยของคฤหัสถ์คือ ทิศ 6  บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอโปรแกรมกิจกรรมที่ออกแบบตามหลักคำสอนในทิศ 6 เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในบทบาทของสมาชิกในครอบครัว คือ พ่อ แม่ สามี ภรรยา และบุตร  การจัดกิจกรรมตามแนวที่นำเสนอนี้จักช่วยสมาชิกในครอบครัวสร้างครอบครัวที่อบอุ่นเป็นครอบครัวที่พึงประสงค์ ลด และแก้ไขปัญหาครอบครัวได้อย่างยั่งยืน

References

กกฎหมายกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2564). พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550.สืบค้น 6 มิถุนายน 2564,จาก http://law.m-society.go.th/law2016/law/view/34

กรมสุขภาพจิต.ข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต .(2563.).สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30401

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). นิยามและประเภทครอบครัว. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จากhttps://infocenter.nationalhealth.or.th/sites/default/files/ นิยามและประเภทครอบครัว.pdf

จิดาภา การค้า (2561). โครงการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://localfund.happynetwork.org/project/27353

จินตนา ลี้ละไกรวรรณ, วรรณภา นิวาสะวัต, นิลาวรรณ ฉันทะปรีดา และศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ. (2551). การเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันของคนต่างรุ่นวัยในระบบสังคมไทย. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ถนัด จันกิเสน (2020). 10 ปรากฏการณ์ที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยในะยะเวลา 15 ปีข้างหน้า. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก The Standard. https://thestandard.co/

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2554). ฉบับออนไลน์. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564,จาก https://dictionary.orst.go.th/

พาพร เทพยสุวรรณ (2562). 10 วิธีทำให้ครอบครัวมีความสุข. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564,จาก https://mgronline.com/qol/detail/9610000080139

พรฤดี นิธิรัตน์, ราตรี อร่ามศิลป, คนึงนิตย์ พงษ์สิทธิถาวร, ดลใจ จองพานิช และกมลวรรณ ตาตะคุ. (2558).ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพจิตครอบครัวสามวัยต่อการรับรู้ทบาทของสมาชิกและสัมพันธภาพในครอบครัว.วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 32(1), 18-33.

Family (sociology). (n.d.). Mosby's Medical Dictionary (8th edition). (2009). สืบค้น 30 พฤษภาคม 2564,จาก จาก https://medical-dictionary.thefreedictionary.com/Family+(sociology

ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง. (2563). โครงการครอบสัมพันธ์และครอบครัวอุ่นใจ.สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://jvnc.coj.go.th/th/page/item/index/id/1

สำนักงานกฎหมายธนู. (2564). คดีครอบครัว. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก http://thanulaw.com/index.php/lawsuit/familycase

สำนักข่าวไทย. (2561). ไทยยังติดอันดับสถิติรุนแรงในครอบครัว1ใน10ของโลก. สืบค้น 25 พฤษภาคม 2564 มิถุนายน 2564,จาก https://tna.mcot.net/tna-253887

สมพร อภิชาโต. (2562). โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น สุขภาพจิตดี มีความสุข.สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://localfund.happynetwork.org/project/42822/finalreport

Brainfit. (2021). 4 วิธีการสร้างสัมพันธภาพที่อบอุ่นในครอบครัว. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://www.brainfit.co.th/th/blog-th/4-วิธีการสร้างสัมพันธภาพที่อบอุ่นในครอบครัว

Charoensuthipan, P. (2019). Domestic violence reports soar in 2019. The Bangkok Post. สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1614218/domestic-violence-reports-soar-in-2019

Ott Chan. (2563). รวมข้อมูลติดต่อองค์กรต่างๆ เมื่อเกิดเหตุที่เยาวชนต้องการความช่วยเหลือ.สืบค้น 6 มิถุนายน 2564, จาก https://www.parentsone.com/save-child-community-for-everyone/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29

How to Cite

ณัฐรดา แฮคำ, & สิงห์คำ รักป่า. (2021). การส่งเสริมความรัก ความอบอุ่น ความเอาใจใส่ในครอบครัวและชุมชนเชิงพุทธ . วารสารจิตวิทยาพุทธศาสตร์ประยุกต์เพื่อสังคม, 7(1), 481–498. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/human/article/view/252877