การให้คำปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในผู้มีภาวะซึมเศร้า

ผู้แต่ง

  • กนกรัชต์ สุดลาภา บริษัทวังน้อยเบเวอรเรช จำกัด
  • สุวัฒสัน รักขันโท ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มจร

คำสำคัญ:

การให้คำปรึกษารายบุคคล, สัมพันธภาพระหว่างบุคคล, ภาวะซึมเศร้า

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายให้เห็นถึงความหมาย แนวคิด ขั้นตอนและรูปแบบการให้คำปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โดยให้คำปรึกษาในบุคคลที่ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า และประเมินพบปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) อารมณ์เศร้าโศกจากการสูญเสียของบุคคลอันเป็นที่รัก 2) ด้านความขัดแย้งกับบุคคลที่สำคัญ 3) ด้านการเปลี่ยนผ่านบทบาททางสังคม และ4) ด้านการพร่องสัมพันธภาพกับบุคคล บทความนี้ เขียนเพื่อเป็นแนวทางให้พยาบาล บุคลากรทางสุขภาพจิตและจิตวิทยา สามารถนำศึกษาและใช้ในการให้การดูแลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าที่มารับการบำบัดในโรงพยาบาลชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และช่วยพัฒนาให้ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าจากปัญหาการปรับตัวเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างบุคคลสามารถปรับตัวได้ดีขี้น และสามารถจัดการแก้ไขปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลใด้ดีขึ้น ส่งผลทำให้ภาวะซึมเศร้าลดลงและมีสุขภาวะที่ดีขึ้นต่อไป

References

กนกรัชต์ บุปผา. (2558). การใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า โรงพยาบาลวังน้อย (รายงานการศึกษาอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทินกร วงศ์ปการันย์. (2553). จิตบำบัด: ทฤษฎีและเทคนิค. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แสงศิลป์.

ธรณินทร์ กองสุข. (2550). โรคซึมเศร้า องค์ความรู้จากการทบทวนหลักฐานทางวิชาการ. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.

ปราโมทย์ สุคนิชย์ และ มาโนช หล่อตระกูล.(2544). เกณฑ์การวินิจฉัยโรคทางจิตเวช DSM IV ฉบับภาษาไทย (ใช้รหัส ICD-10) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์ จำกัด.

พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. (2549). จิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล: ทางเลือกใหม่ของการรักษาโรคซึมเศร้า. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 51(2), 117-131.

“_______”. (2550). อารมณ์เศร้าโศกจากการสูญเสียและจิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล: หลักการและแนวทางการดูแล. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 52(1), 29-45.

พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย, นันทิกา ทวิชาชาติ และ สมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์. (2551). ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลกับโรคซึมเศร้าในผู้ป่วยซึมเศร้าไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 53(1), 69-80.

เพ็ญสุดา ไชยเมือง. (2554). การให้คำปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลสำหรับผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า (รายงานการศึกษาอิสระ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช). มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.

ภัทรอำไพ พิพัฒนานนท์. (2539). ทฤษฎีการพยาบาลและกรณีศึกษาผู้ป่วยจิตเวช. กรุงเทพฯ : บริษัทธรรมสาร จำกัด.

มานิต ศรีสุภานนท์ และจําลอง ดิษยวณิช. (2542). ตำราจิตเวชศาสตร์เชียงใหม่. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แสงศิลป์.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2555). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทบียอนแอนเตอร์ไพรซ์ จำกัด.

ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. (2544). แนวทางเวชปฏิบัติเรื่องโรคซึมเศร้า. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเรดิเอชั่น จำกัด.

โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์. (2546). แผนการสอนการป้องกันและช่วยเหลือผู้มีภาวะซึมเศร้าและผู้เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.

สมพร เพียรรุ่งเรื่อง และพีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. (2556). ปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 60(1), 23-24.

สายฝน เอกวรางกูร. (2554). รู้จัก เข้าใจ ดูแล ภาวะซึมเศร้า (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ส. เอเชียเพลส จำกัด.

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และพีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. (2553). การบำบัดทางจิตสังคมสำหรับโรคซึมเศร้า (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ธนาเพลส จำกัด.

Badger, T., Segrin, C., Meek, P., Lopez, A. M., & Bonham, E. (2004). A case study of telephone Interpersonal Counseling for women with breast cancer and their partners. Oncology Nursing Forum, 31(5), 997 – 1003.

“_______”. (2005). Telephone Interpersonal counseling with women with breast cancer: Symptom management and quality of life. Oncology Nursing Forum, 30(2), 274-279.

Bolton, P., Bass, J., Neugebauer, R., Verdeli, H., Kathleen, F., et al. (2003). Group interpersonal psychotherapy for depression in rural Uganda: a randomized controlled trial. The Jounal of the American Medical Association, 289, 3117 -3124.

Hoeksema, S., Seligman, M., & Girgus, J. (1986). Learned Helplessness in Children: A Longitudinal Study of Depression, Achievement, and Explanatory Style. Journal of Personality and Social Psychology, 51, 435-442.

Holmes, A., Hodgins, G., Adey, S., Menzel, S., Danne, P., Kossmann, T., & Judd, F. (2007). Trial of Interpersonal Counseling after Major Physical Trauma. Australian & New Zealand. Journal of Psychiatry, 41. 926-933.

Judd, F., Davis, J., Hodgins, G., Scopelliti, J., Agin, B., & Hulbert, C. (2004). Rural Integrated Primary Care Psychiatry Programme: a systems approach to education, training and service integration. Australasian Psychiatry, 12(1), 42–47.

Judd, F., Weissman, M. M., Davis, J., Hodgins, G., Piterman, L. (2004). Interpersonal counseling in general practice. Australian Family Physician, 33(4), 332- 337.

Moussavi, S., Chatterji, S., Verdes, E., Tandon, A., Patel, V., & Ustun, B. (2007). Depression, chronic diseases, and decrementts in health: results from the World Health Surveys. The Lancet, 370(9590), 851–858.

Neugebauer, R., Kline, J., Bleiberg, K., Baxi, L., Markowitz, J. C., & Rosing., M. (2007). Preliminary open trial of interpersonal counseling for subsyndromal depression. Following miscarriage. Depression and Anxiety, 24(3), 219- 22

Sadock, B. J., & Sadock, V. A. (2007). Synopsis of psychiatry: Behavioral sciences/ clinical Psychiatry (10thed.). Philadephia: Lippincott Williams & Wilkins.

Sullivan. H. S. (1953). The interpersonal theory of psychiatry. New York: Norton.

Weissman, M. M., Prusoff, B. A., Dimascio, C., Neu, C., Goklaney, M., & Kleman. G. L. (1997). The efficacy of drugs and psychotherapy in the treatment of acute depressive episodes. The American Journal of Psychiatry, 136(4), 555-558.

World Health Organization. (2012). Depression: A Global Crisis World Mental Health Day. Retrieved July 15, 2014, from http://www. WHO.org.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30