สำนึกทางจิตวิทยาต่อชุมชน
คำสำคัญ:
รูปแบบ, ความสำนึกทางจิตวิทยาต่อชุมชนบทคัดย่อ
ในปัจจุบันชุมชนมีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ด้านด้วยกันคือ ด้านภูมิศาสตร์ ด้านสังคมและด้านจิตวิทยา ทั้ง 3 ด้านนี้รวมกันเป็นองค์ประกอบของชุมชน การอยู่ร่วมกันด้วยคนหมู่มากย่อมเกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัดแย้งด้านพื้นที่ ด้านการดำรงชีพ และด้านความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นสามารถแก้ไขได้ด้วยความร่วมมือของคนในชุมชน โดยการสร้างจิตสำนึกให้คนในชุมชน ได้ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเอง โดยการสร้างรูปแบบความสำนึกทางจิตวิทยาต่อชุมชน เป็นกรอบแนวคิดในการเสริมสร้างความสำนึกทางจิตวิทยาต่อชุมชนที่มุ่งเน้น 4 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1) ความสำนึกที่มีต่อชุมชน 2) ความสัมพันธ์ของการรับรู้ของแต่ละบุคคลที่มีต่อชุมชนและที่ชุมชนมีต่อตนเอง 3) ประสบการณ์ของคณะกรรมการชุมชนที่มีต่อชุมชน และ 4) บทบาทของคณะกรรมการชุมชนที่มีต่อชุมชนเพื่อเสริมสร้างความสำนึกด้านความผูกพันต่อชุมชน โดยมีขั้นตอนดำเนินการที่ครอบคลุมการสำรวจความสำนึกของคณะกรรมการชุมชนที่มีต่อชุมชนโดยมุ่งเน้นการรับรู้ของแต่ละบุคคลที่มีต่อชุมชนและที่ชุมชนมีต่อตนเอง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการรับรู้ความสำนึกทางจิตวิทยาของแต่ละบุคคลที่มีต่อชุมชนและที่ชุมชนมีต่อตนเอง การวิเคราะห์ประสบการณ์ของคณะกรรมการชุมชนที่มีต่อชุมชนและการวิเคราะห์บทบาทของคณะกรรมการชุมชนเพื่อเสริมสร้างความสำนึกด้านความผูกพันต่อชุมชน
References
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). ชุมชนนิยม : ฝ่าวิกฤตชุมชนล่มสลาย. กรุงเทพฯ : เอเชียเพลส.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2543). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง : ประชาคม ประชาสังคม. ขอนแก่น : โครงการจัดตั้งมูลนิธิเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง.
เสรี พงศ์พิศ. (2544). แนวคิด แนวปฏิบัติ ประสบการณ์กองทุนหมู่บ้าน สวัสดิการชุมชน. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์.
สำนักพัฒนาสังคม. (2559). คู่มือประกอบการอบรมสัมมนาโครงการปฐมนิเทศคณะกรรมการชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชนรองรับสังคมการเปลี่ยนแปลงประจำปี 2559. สำนักพัฒนาสังคม. กรุงเทพมหานคร.
Bardo, J.w. & Hartman, J.J. (1982). Principles of urban sociology. A systematic introduction. New York : F.E.Peacock.
Boyd, N.M. & Nowell, B. (2014). Psychological sense of community : A New Construct for the Field of Management. Journal of Management Inquiry. 23(2), 107–122.
Burroughs, S.M. & Eby, L.T. (1998). Psychological sense of community at work : A Measurement system and explanatory framework. Journal of Community Psychology, 26(6), 509–532
Colombo, M., Mosso, C. & Piccoli, N.D. (2001). Sense of Community and participation in Urban Contexts. Journal of Community and Applied Social Psychology, 11, 457–464.
Dalton, J.H., Elias, M.J. & Wandersman, A. (2007). Community Psychology Linking Individuals and Communities. Second edition. USA : Thomson Wadsworth.
Glynn, T.J. (1981). Psychological sense of community: Measurement and application. Human Relations, 34, 780–818
Good, C.V. (2005). Dictionary of education (5th ed). New York McGraw – Hill.
McMillan, D.W. (1996). Sense of Community. Journal of community Psychology, 24, 315–325.
McMillan, D.W. & Chavis, D.M. (1986). Sense of community: A definition and theory. Journal of Community Psychology, 14, 6–23.
Omoto, A.M. & Packard, C.D. (2016). The power of connection: Psychological sense of community as a predictor of volunteerism. Journal of Social Psychology, 156(3), 272–290.
Ramos - Vidal, I. (2019). A relational view of psychological empowerment and sense of community in academic contexts : A preliminary study. Behavioral sciences, 9(6), 1–19.
Sarason, S.B. (1974). The Psychological sense of community: Prospects for a community psychology. San Francisco, CA: Jossey – Bass.
Sarason, S.B. (1993). American Psychology, and the needs for transcendence And community. American Journal of Community Psychology, 21, 185–202.
Walker, B.L.& Raval, V.V. (2017). College students from rural hometowns report experience of psychological sense of community and isolation. Journal of Rural Mental Health, 41(1) 66–79.