การพัฒนาตนตามหลักอิทธิบาท 4 สำหรับบุคลากรในยุคไทยแลนด์ 4.0

ผู้แต่ง

  • ศิลป์ชัย สีมาวงศ์อนันต์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สิริวัฒน์ ศรีเครือดง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • สุวัฒสัน รักขันโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

อิทธิบาท 4, การพัฒนาตน, ไทยแลนด์ 4.0

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งเสนอวิธีการพัฒนาตนตามหลักอิทธิบาท 4 สำหรับบุคลากรในยุคไทยแลนด์ 4.0  ผลวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาตน 4 ข้อ ได้แก่ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เป็นหลักธรรมะที่นำมาใช้ประยุกต์ใช้และบูรณาการในการทำงานเพื่อให้เกิดความสำเร็จ บุคคลจำเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง วิธีการที่จะฝึกฝนบุคคลให้เกิดอิทธิบาท 4 คือ การสร้างแรงจูงใจในการทำงานสัมพันธ์กับการใช้ชีวิตด้วยวิธีการฝึกอบรม สามารถทำให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลง ฝึกฝนตนเอง ให้ประสบความสำเร็จได้ และมีคุณลักษณะเก่ง ดี และมีความสุข สอดคล้องกับการขับเคลื่อนประเทศในยุคไทยแลนด์ 4.0 จำเป็นต้องมีหลักธรรมควบคู่กับการพัฒนานวัตกรรมไปด้วย

References

ตรีพร ชุมศรี. (2545). การพัฒนาตนเอง. สำนักงานส่งเสริมวิชาการ: วิทยาลัยครูสกลนคร.

นฤมล สุ่นสวัสดิ์. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพมหานคร: วันทิพย์.

ผู้บริหารส่วนราชการ (นบส. 2) (รุ่นที่ 9). (2560). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ประเทศไทย 4.0. สำนักงาน ก.พ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560.

พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (2549). การทำงานที่เป็นสุข. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรรมสภา.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมมิก จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). ชีวิตนี้เพื่องาน งานนี้เพื่อธรรม. (พิมพ์ครั้ง 25). กรุงเทพมหานคร.

พระพรหมคุณภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

เรียม ศรีทอง. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.

อรัญญา ตุ้ยคัมภีร์ และ จิระสุข สุขสวัสดิ์. (2559). จิตวิทยาเพื่อการดำรงชีวิต. เอกสารประกอบการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตนและสร้างสรรค์สังคม. เอกสารประกอบการสอน (หน่วยที่ 15).

ปิ่นมณี ขวัญเมือง. (2557). หลักอิทธิบาท 4: เส้นทางสู่ความสำเร็จ. บทความปริทัศน์. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม 13(3),12-15.

พระครูวิจิตรปทุมรัตน์. (2558). การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ. 2(1), 6-10.

พระราชวรมุนี. (2538). มิติใหม่ของการพัฒนาจิตใจ: พัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ประเทืองวิทย์.

แม้นเหมือน สิทธิศักดิ์. (2560). รูปแบบการปรึกษาแนวพุทธจิตวิทยาเพื่อการพัฒนาสมรรถนะการบริหารของนักธุรกิจขายตรง. (ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

ศิลป์ชัย สีมาวงศ์อนันต์. (2562). การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาตนตามหลักพุทธจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของบุคลากรสายวิศวกรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0. (ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

อัจฉรา หล่อตระกูล. (2557). การพัฒนาสมรรถนะพนักงานมหาวิทยาลัยของรัฐ. (วิทยานิพนธ์, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

จันทร แสงสุวรรณวาว, (2560).โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุทางพุทธจิตวิทยาการสร้างความสามัคคีเพื่อทีมงานที่ประสบความสำเร็จ. (ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา: บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

พระราชปริยัติกวี, ศ.ดร., อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.). (2562). เป็นประธานเปิดงานวันคล้ายวันก่อตั้งวิทยาลัยสงฆ์นครน่าน และการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 MCU Nan Congress II เรื่อง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคมอย่างยั่งยืนในยุค Thailand 4.0.

พจน์ พจนพาณิชย์กุล. (2561). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของบุคคล. สืบค้น 14 ธันวาคม 2562, จาก https://www.sbdc.co.th/knowledge/article/131/การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของบุคคล/

Maslow. (1987). Motivation and Personality. New York: Harper Row Publisher.

Sang Woo Kim. (2014). Samsung: Smarts skills, smart future - Business Brief. OECD Yearbook. Retrieved 20/12/2019 from http://www.oecd.org/forum/oecdyearbook/samsung-smart-skills-smart-future.htm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-07