กลวิธีการแปลคำนามประสมจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
คำสำคัญ:
กลวิธีการแปล, คำนามประสม, การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยบทคัดย่อ
การแปลนับว่าเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มีความสำคัญมากในปัจจุบัน การแปลเป็นเครื่องมือในการสื่อสารที่เอื้อประโยชน์ให้มนุษย์ทั่วโลก ต่างชนชาติ ต่างภาษาได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมีความเข้าใจที่ตรงกันทั้งในด้านการเขียนและการพูด ผู้ทำงานเกี่ยวกับการแปลควรจะมีการเรียนรู้รอบตัวอยู่เสมอและพัฒนาความรู้เหล่านั้นให้ดียิ่งขึ้นเพื่อให้ผลงานแปลที่ผลิตออกมามีคุณภาพ บทความนี้นำเสนอการแปลในด้านความหมาย ความสำคัญ ประเภท กระบวนการแปลและขั้นตอนการแปล ปัจจัยที่มีผลต่อการแปล ประวัติการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ทฤษฎีเกี่ยวกับคำนามประสมและกลวิธีการแปลคำนามประสมเพื่อจะได้นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้กับการทำงานแปลจริงได้
References
กรมวิชาการ. (2532). หลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กัญญา ธรรมมงคล. (2537). พระอัจฉริยะภาพด้านการแปลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. วารสารภาษาปริทัศน์. 1(5), 5-11.
จิระพรรษ์ บุณยะเกียรติ และคณะ. (2540). ศาสตร์การแปล: รวมบทความเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เบญจมา บุญเติม. (2551). การศึกษาการแปลคำอุทานในวรรณกรรมเรื่อง HARRY POTTER AND THEORDER OF THE PHOWNIX และ HARRY POTTER AND THE HALF-BLOOD PRINCE. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล).
ประเทือง ทินรัตน์. (2545). การแปลเชิงปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
ปัญญา บริสุทธิ์. (2542). ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติในการแปล. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
สัญฉวี สายบัว. (2550). หลักการแปล. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิทธา พินิจภูวดล. (2543). คู่มือนักแปลมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
สุพรรณี ปิ่นมณี. (2555). แปลผิด แปลถูก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
___________. (2546). การแปล 1. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
___________. (2549). การแปลขั้นสูง. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี สมชอบ. (2542). การแปลเบื้องต้น. อุบลราชธานี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2547). วิวัฒนาการของการยืมคำและการบัญญัติศัพท์ในสังคมไทย. วารสารอักษรศาสตร์. 33(1), 207-209.
อัจฉรา เทพแปง.(2556). การสื่อสารคำนามประสมผ่านการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).
อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2548). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีการแปล. ภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อัญชลี สิงห์น้อย. (2548). คำนามประสม: ศาสตร์และศิลป์ในการสร้างคำไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Baker, M. (1992). In Other Words: A Coursebook on Translation. London and New York: Routledge.
Bauer, L. (2001). Langauge Typology and Language Universals. New York: Walter de Gruyter.
Beekman, J. & Callow, J. (1974). Translating the Word of God. Michigan: Zondervan. Carstairs-McCarthy, A. (2002).
An Introduction to English Morphology. Edinburgh: Edinburgh University Press.
Carter, R. & McCarthy, M. (2006). Cambridge Grammar of English. Cambridge: Cambridge University Press.
Hans, V. (1996). A Skopos Theory of Translation. Heidelberg: TextCon Text.
J. C. Catford. (1978). A Linguistic Theory of Translation. Britain: Oxford University Press.
Lapata, M. & Lascarides, A. (2003) .Detecting Novel Compounds: The Role of Distributional Evidence. In Proceeding of the 10th Conference of the European Chapter of the Association for Computational Linguistics. 235-242. Hungary: Agro Hotel, Budapest.
Macherey, K., Dai, A., Talbot, D., Popat, A. C. & Och, F. J. (2001). Language-Independent Compound Splitting with Morphological Operations. In proceedings of the 49th Annual Meeting of the Association for Computational Linguistics: Human Language Technologies. 1395-1404. USA: Portland, Oregon.
Newmark, P. (1988). A Textbook of Translation. London: Pearson Education Limited.
Rowling, J. K. (1997). Harry Potter and the Philosopher’s Stone. London: Bloomsbury.
Strevens, P. “English as an International.” English Teaching FORUM. Volume No.XXV, 4 October 1987.