การประยุกต์ใช้ต้นทุนฐานกิจกรรมในการคำนวณต้นทุนการผลิต กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านสตรีแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี
Application of activity base cost in production cost calculation Study of a housewife group in Chonburi Province
คำสำคัญ:
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม, การคำนวณต้นทุนการผลิต, ต้นทุนทางบัญชีบทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาต้นทุนการผลิตของกลุ่มแม่บ้านสตรีแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี หลักการคิดต้นทุนฐานกิจกรรมถูกนำมาใช้เพื่อการบริหารต้นทุนมีประสิทธิภาพ และการคำนวณต้นทุนตามระบบต้นทุนฐานกิจกรรม แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ (1) วิเคราะห์กิจกรรม (2) วิเคราะห์ตัวผลักดันต้นทุนของทรัพยากร (3) คำนวณต้นทุนกิจกรรมเป็นการอาศัยตัวผลักดันต้นทุนทรัพยากร และ (4) คำนวณต้นทุนกิจกรรมเข้าสู่สิ่งที่จะนำมาคิดต้นทุน
จากการคำนวณต้นทุนการผลิตด้วยวิธีการคำนวณต้นทุนตามบัญชีต้นทุนเดิมกับการคำนวณต้นทุนฐาน พบว่า การค านวณต้นทุนตามระบบบัญชีต้นทุน ประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ เท่ากับ 2.40 บาทต่อขวด ต้นทุนแรงงาน เท่ากับ 1.60 บาทต่อขวด และต้นทุนค่าโสหุ้ยการผลิต เท่ากับ 3.82 บาทต่อขวด รวมต้นทุนผลิตภัณฑ์เท่ากับ 7.82 บาทต่อขวด ส่วนการคำนวณต้นทุนตามระบบต้นทุนฐานกิจกรรม จำแนกการคำนวณต้นทุนออกเป็น 6 กิจกรรม ประกอบด้วย (1) กิจกรรมการวางแผนการผลิต มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 0.39 (2) กิจกรรมการจัดซื้อวัตถุดิบ มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 0.31 (3) กิจกรรมการผลิตสินค้า มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 1.3 (4) กิจกรรมการเก็บรักษาวัตถุดิบ มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 0.18 (5) กิจกรรมการจัดเก็บสินค้าส าเร็จรูป มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 0.35 และ (6) กิจกรรมการส่งมอบสินค้า มีอัตราต้นทุนเท่ากับ 0.79 รวมต้นทุนกิจกรรมกับกับค่าวัตถุดิบจะได้ต้นทุนผลิตภัณฑ์เท่ากับ 8.41 บาทต่อขวด
References
กนกวรรณ กิ่งผดุง และ สุจินต์วุฒิชัยวัฒน์. (2560, มกราคม – เมษายน). การประยุกต์ต้นทุนฐานกิจกรรมใช้กับกระบวนการผลิตนมพาสเจอร์ไรซ์กรณีศึกษาในโรงงาน อุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่ 10 ฉบับที่ 1.
แคปแลนด์ และโรเบิร์ต. (2552). การวิเคราะห์ต้นทุนบนฐานกิจกรรมและเกณฑ์เวลา. กรงเทพฯ:เอ็กซเปอร์เน็ท.
ชัยสิทธิ์ แซ่ลิ้ม. (2561). การวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรม: กรณีศึกษาโรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก. สาระนิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม มหาวิทยาลัยสยาม.
ทัศนา หงส์มา. (2553). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้า OTOP ที่ผลิตโดยกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกาะเกร็ดจังหวัดนนทบุรี. รายงานการวิจัย วิทยาลัย ราชพฤกษ์.
เบญจรัตน์ คู่กระสังข์. (2556). การประยุกต์ใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนผลิตภัณฑ์น้ าดื่มบรรจุขวด กรณีศึกษา: โรงงานน้ำดื่มจตุเฟรช. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
รุธิร์ พนามยงค์. (2549). การวิเคราะหต้นทุนโลจิสติกส์แบบ ABC. องค์การส่งเสริมการค้าของญี่ปุ่น(เจโทร กรุงเทพฯ).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2563). โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org. (22 กรกฎาคม 2563)
วิภาดา ศุภรพันธ์. (2548). จะเปลี่ยนไปใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC) ในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์หรือไม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 1(2): 93-105.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2553). การบัญชีต้นทุน : แนวคิดการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์และการบันทึกบัญชี (Cost Accounting). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เส้นทางเศรษฐี. (2563). กลยุทธ์บูมสินค้า OTOP มหาดไทย ยกระดับมาตรฐานการผลิต เพื่อช่องทางตลาด. แหล่งที่มา : http://www.thaismefranchise.com. (23 กรกฎาคม 2563)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์