การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3
The Developing of Program for Enhancing Creative Leadership of School Administrators under Sakon Nakhon Primary Educational Area Office 3
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์, การพัฒนาโปรแกรม, ผู้บริหารโรงเรียนบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 จำนวน 123 คน โดยการคำนวณจากสูตร เครซีและมอร์แกน ผู้เชี่ยวชาญเครื่องมือการวิจัย 5 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน โดยจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียน 3 แห่ง โดยการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์การพิจารณา คือ ผู้บริหารโรงเรียนมีภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์เป็นที่ประจักษ์และยอมรับโดยทั่วกัน ดังนี้ 1) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 2) โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 และ 3) โรงเรียนบ้านนาดอกไม้ห้วยไร่สามัคคี ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 จำนวน 5 คน โดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ประกอบด้วย 3 ด้านพบว่าลำดับสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 เรียงลำดับ สภาพที่พึงประสงค์จากมากไปหาน้อย ได้แก่1) การมีจินตนาการ 2) การมีความยืดหยุ่น และ 3) การมีวิสัยทัศน์
2. การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การศึกษาด้วยตนเอง 2) การประชุมปฏิบัติการ 3) การศึกษาดูงาน และ 4) การฝึกอบรม/สัมมนาผลการประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด
References
กรมวิชาการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : อักษรไทย.
กาญจนา ศิลา. (2556).การศึกษาภาวะผู้น าเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร สeนักงานเขตบางเขน. สารนิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2556). ภาวะผู้นeเชิงสร้างสรรค์ : สิ่งที่ควรมีคุณค่าสeหรับทุกคนใน อนาคต. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ดนัย เทียนพุฒ. (2545). การออกแบบและพัฒนาความรู้ในองค์กรโดยมืออาชีพเพื่อมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : นาโกต้า.
ประยูร ศรีประสาธน์. (2542). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการดeเนินงานของคณะกรรมการการศึกษาประจำโรงเรียนประถมศึกษา. รายงานวิจัย. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิเชียร วิทยาอุดม. (2550). ภาวะผู้น า. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์.(2554). หลักการ ทฤษฎี และแนวทางปฏิบัติทางการบริหารการศึกษา.มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุวัฒน จุลสุวรรณ. (2559).การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสายสนับสนุน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.(2541). การนิเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในโรงเรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
Bennis, W. (2002). Creative Leadership. [ABI].
Chernin, P. (2001) . Creative leadership: The Strength of Ideas The power of the Imagination. Vital Speeches of the Day, 68(8), 245.
Couto, R. A. & Eken, S. C. (2002) . To Give their Gifts: Health, community and democracy. Nashville: Vanderbilt University Pr.
Davis, Rita F. (2007). Female Transformational Leader Characteristics: An Exploratory Investigation, Dissertation Abstracts International. 68(03).
Estes, D.G. ( 1 9 9 4 ) . Qualitative Findings Regarding Leadership Development Process Training for Principals, Dissertation Abstracts International. 7(9) :1432-A.
Grizzard J.B. (2007). Peer-to-Peer Botnets : Overview and Case Study.
Harris, A. (2009). Creative leadership, Journal of Management in Education, 23(1),
Kho, E.C. (2001). An Evaluation Study of the Effectiveness of a United StatesBased Global Leadership Development Program, Dissertation Abstracts International. 2(1): 264-A.
McCollum, B.C. (2000) . Self-Development and the Spontaneous Expression of Leadership Behaviors, Dissertation Abstracts International. 13(6).
Megginson, Leon C. (1972) . Personal A Behavioral Approach to Administration. Irwin : Homewood Illinois.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์