ปัจจัยเชิงสาเหตุของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพชีวิตกับความพึงพอใจในชีวิตและความอยู่ดีมีสุขระยะยาวของประชาชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19
Causal Factor of Sufficiency Economy Philosophy, Quality of Life, Life Satisfaction and Eudaimonic Well-being During the Epidemic Situation of COVID-19
คำสำคัญ:
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, คุณภาพชีวิต, ความพึงพอใจในชีวิต, ความอยู่ดีมีสุขระยะยาวบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คุณภาพชีวิต ความพึงพอใจในชีวิต และความอยู่ดีมีสุขระยะยาวของประชาชนทั่วไปในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทั่วไป จำนวน 450 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่นำมาใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้วยสมการเชิงโครงสร้าง (Structural Equation Modeling) ผลการวิจัยพบว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีอิทธิพลทางตรงต่อความอยู่ดีมีสุขระยะยาว คุณภาพชีวิตมีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในชีวิตและความอยู่ดีมีสุขระยะยาว และความพึงพอใจในชีวิตมีอิทธิพลทางตรงต่อความอยู่ดีมีสุขระยะยาว ส่วนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในชีวิต แต่พบว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณภาพชีวิตมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความอยู่ดีมีสุขระยะยาวโดยผ่านความพึงพอใจในชีวิต งานวิจัยนี้ได้สรุปข้อเสนอแนะและงานวิจัยในอนาคตสำหรับผู้ที่สนใจ
References
กรมสุขภาพจิต. (2565). เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย. [ออนไลน์]สืบค้นจาก https://dmh.go.th/test/whoqol/ [2565, 22 มีนาคม]
ขวัญกมล ดอนขวา. (2557). แบบจำลองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเศรษฐกิจสร้างสรรค์มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย. [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/ bitstream/123456789/5173/2/Fulltext.pdf [2565, 2 มีนาคม]
ไชยฤทธิ์ อนุชิตวรวงศ์. (2559). แนวคิดความอยู่ดีมีสุขของไทย. [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8387e/8387%นายไชยฤทธิ์%20อนุชิตวงศ์.pdf [2565, 12 มีนาคม]
ดาว ชุ่มตะขบ. (2563). เศรษฐกิจพอเพียง ทางเลือก ทางรอดฝ่าวิกฤตโควิด-19. วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา, 2(3), 11-22.
ธนัชชา จันคณา พิพัฒน์ ไทยอารี และศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี. (2564). คุณภาพชีวิตของบุคลากรในหน่วยงานราชการที่มีผลมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 กรณีศึกษา: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ. วารสารวิชาการไทยวิจัยและการจัดการ, 2(3), 16-45)
บัวพันธ์ พรหมพักพิง. (2555). ความอยู่ดีมีสุข. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์. 29(2), 23-50.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2563). เศรษฐกิจพอเพียง. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://www.chaipat.or.th/ publication/publish-document/sufficiency-economy.html. [2565, 10 มีนาคม]
เมธาวี บุญพิทักษ์. (2560). ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในอำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงทรา. [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://libdcms.nida.ac.th/thesis6/2560/b201164. pdf [2565, 12 มีนาคม]
เมธี ทรัพย์ประสพโชค ภาวินีย์ มีผดุง อรุณ ขยันหา และศิริวรรณ วิสุทธิรัตนกุล. (2564). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในภาวะโรคระบาดโควิด-19 บนพื้นฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 4(3), 109-125.
สมนึก ปัญญาสิงห์. (2557). การพัฒนาตนเองและตัวชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวเกษตรกรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 31(3), 121-138.
สาธิตา พงษ์เสน่ห์. (2562). ความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลโนนสูง อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://www.researchgate.net/profile/Psychology-And-Guidance-Silpakorn-2/publication/341998699_khwamphungphxcinichiwitkhxngphusungxayu_chmrmphusungxayuthesbaltablnonsung_xaphexkhunhay_canghwadsrisakes/links/5eddca2c92851c9c5e8f9f12/khwamphungphxcinichiwitkhxngphusungxayu-chmrmphusungxayu thesbaltablnonsung-xaphexkhunhay-canghwadsrisakes.pdf [2565, 3 กรกฎาคม]
อนงค์ ลาไธสง. (2560). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านหนองแวงสามัคคี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/ AbstractPdf/2560-2-12_1511321965_5822475423.pdf [2565, 3 กรกฎาคม]
อนรรฆ อิสเฮาะ. (2562). คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016 /12343/2/อนรรฆ%20อิสเฮาะ.pdf [2565, 3 กรกฎาคม]
Cho, E., & Kim, S. (2015). Cronbach’s coefficient alpha: Well-known but poorly understood. Organizational Research Methods, 18(2), 207-230.
Choi, K., & Seltzer, M. (2010). Modeling heterogeneity in relationships between initial status and rates of change: Treating latent variable regression coefficients as random coefficients in a three-level hierarchical model. Journal of Educational and Behavioral Statistics 35(1), 54–91.
Coehran, W. C. (1953). Sampling techniques. John Wiley and Sons, Inc., New York.
Diener, E. D., Emmons, R. A., Larsen, R. J., & Griffin, S. (1985). The satisfaction with life scale. Journal of Personality Assessment, 49(1), 71-75.
Diener, E. D. Harter, N. J. & Arora, R. (2010). Wealth and happiness across the world: Material prosperity predicts life evaluation, whereas psychosocial prosperity predicts positive feeling. Journal of Personality and Social Psychology, 99(1): 52–61.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis. New Jersey, Upper Saddle River: Pearson Prentice Hall.
Hair, J. F., Sarstedt, M., Hopkins, L., & Kuppelwieser, V. G. (2014). Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): An emerging tool in business research. European Business Review, 26(2), 106–121.
Haybron, D. (2020). Happiness. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://plato.stanford.edu/archives/ sum2020/entries/happiness/ [2565, 22 มีนาคม]
Jebb, A. T., Tay, L., Diener, E., & Oishi, S. (2018). Happiness, income satiation and turning points around the world. Nature Human Behaviour, 2(1), 33-38.
Kline, R. B. (2016). Principles and practice of structural equation modeling. New York: The Guilford Press.
Niemiec, C. P. (2014). Eudaimonic Well-Being. In: Michalos, A.C. (eds) Encyclopedia of Quality of Life and Well-Being Research. Springer, Dordrecht.
Pavot, W., & Diener, E. (1993). The affective and cognitive context of self-reported measures of subjective well-being. Social Indicators Research, 28(1), 1-20.
Rovinelli, R. & Hambleton, R. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Education Research, 2, 49–60.
Ryff, C. D. (1989). Happiness is everything, or is it? Explorations on the meaning of psychological well-being. Journal of Personality and Social Psychology, 57, 1069–1081.
Seligman, M. (2011). Flourish: A New Understanding of Happiness and Well-being - and How to Achieve Them. London: Nicholas Brealey Publishing.
Shin, D. C., & Johnson, D. M. (1978). Avowed happiness as an overall assessment of the quality of life. Social Indicators Research. 5, 475– 492.
Songsrirote, N. (2014). Regression Analysis Applications. (4th Edition). Bangkok: Jaransanitwong Publication.
The World Health Organization Quality of Life. (2012). WHOQOL: Measuring Quality of Life. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://www.who.int/tools/whoqol#:~:text=WHOQOL%
%2D%20Measuring%20Quality%20of%20Life%7C%20The%20World%20Health%20Organization&text=WHO%20defines%20Quality%20of%20Life,%2C%20expectations%2C%20standards%20and%20concerns. [2565, 22 มีนาคม]
Vittersø, J., & Søholt, Y. (2011). Life satisfaction goes with pleasure and personal growth goes with interest: Further arguments for separating hedonic and eudaimonic well-being. The Journal of Positive Psychology, 6(4), 326-335.
Waterman, A. S., Schwartz, S. J., Zamboanga, B. L., Ravert, R. D., Williams, M. K., Bede A. V., Yeong, S. K., & Brent D. M. (2010). The Questionnaire for Eudaimonic Well-Being: Psychometric properties, demographic comparisons, and evidence of validity. The Journal of Positive Psychology, 5(1), 41-61.
WHOQOL-Brief. (2012). The World Health Organization Quality of Life. [ออนไลน์] สืบค้นจาก https://www.who.int/tools/whoqol [2565, 20 มกราคม]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
จรรยาบรรณผู้เขียนบทความ
ผู้เขียนบทความต้องรับรองว่าบทความนี้ไม่เคยตีพิมพ์ในวารสารใดหรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ มาก่อน ต้องไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นมาปรับแต่งเป็นบทความของตน และไม่ได้อยู่ระหว่างการเสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ อีกทั้งยอมรับหลักเกณฑ์การพิจารณาและการตรวจแก้ไขบทความต้นฉบับโดยกองบรรณาธิการวารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
บทความทุกเรื่องได้รับการตรวจพิจารณาทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญตรงตามสาขาของบทความ ซึ่งผู้เขียนต้องแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิภายในระยะเวลาที่กำหนด หากไม่เป็นไปตามกำหนดกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์และยกเลิกการตีพิมพ์โดยจะแจ้งให้ทราบต่อไป
ข้อความที่ปรากฏในบทความของวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยนครราชสีมาแต่อย่างใด และกองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตรวจประเมินบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารของวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์