กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุรินทร์

The Adaptation Strategy for the Survival of Community Enterprise Entrepreneurs in Surin Province, Thailand

ผู้แต่ง

  • พรหมจิรา เจาลา, ปิยะ แก้วบัวดี, ชุติกร ปรุงเกียรติ คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอด, สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก, ภูมิปัญญาท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ 2) ศึกษาศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน 397 ราย วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

ผลการศึกษาพบว่า

  1. ระดับกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอด สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก และภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่ในระดับมาก
  2. สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก ภูมิปัญญาท้องถิ่นส่งผลเชิงบวกต่อกลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอด อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.05

 

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2548). วิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร.

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์. (2554). รายงานข้อมูลวิสาหกิจชุมชนจังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์: สำนักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์.

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2544). การวิจัยประเมินผล: หลักการและกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

ภูวนารถ ถาวรศิริ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของผู้ประกอบการธุรกิจน้ำดื่มท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. Veridian E-Journal, 8(2), 2171-2187.

ลำยอง ปลั่งกลาง, วันทนา เนาว์วัน และพรรษวรรณ สุขสมวัฒน์. (2553). แนวทางการพัฒนาการจัดการทางการตลาดของวิสาหกิจชุมชนการท่องเที่ยว เขตภาคกลาง (พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ลำยอง ปลั่งกลาง, นิยม คำบุญทา และดราภรณ์ เดชพลมาตย์. (2550). การศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา: พระนครศรีอยุธยา.

วัชรพงศ์ ดีวงษ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความอยู่รอดและความสามารถทางการแข่งขัน ของผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างจัดตั้งใหม่: กรณีศึกษา ผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้าง ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและก่อสร้าง, 2(1), 71-82.

Aaker, D. A., V. Kumar and G. S. Day. (2001). Marketing Research. 7thEd. New York: John Wiley & Sons

Coulter, M. (2008). Strategic management in action. 4thEd. New Jersey: Person Education, Inc.

Hair J. F., Black, W. C., Babin B. J., Anderson, R. E., and Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data Analysis. 6thEd. New Jersey: Pearson Education International.

Nunnally, J. C., and Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. 3rdEd. New York: McGraw-Hill, Inc.

Schermerhorn, J. R. (2000). Management. 7thEd. New York: John Wiley & Sons.

Stevens, J. P. (1992). Applied Multivariate Statistics for the Social Sciences. NJ: Lawrence Erlbaum Associates. Hillsdale.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-02

How to Cite

ปรุงเกียรติ ช. (2023). กลยุทธ์การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสุรินทร์: The Adaptation Strategy for the Survival of Community Enterprise Entrepreneurs in Surin Province, Thailand. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 15(2), 301–312. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hsjournalnmc/article/view/251876