ความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูระดับประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3

ผู้แต่ง

  • พัชนี โคตรมนตรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

ความสอดคล้อง, การจัดการเรียนร่วม, มาตรฐานการเรียนร่วม

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูระดับประถมศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3และ (2) เพื่อเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูจำแนกตามวุฒิการศึกษา สาขาที่จบการศึกษา ประสบการณ์การสอน ที่ตั้ง ประเภทและขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูที่จัดการเรียนร่วมในระดับประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3ปีการศึกษา 2558 81 โรงเรียน จำนวน 243 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามการจัดการเรียนร่วมของครู สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ ค่าดัชนีความสอดคล้องตามวิธีของพอร์เตอร์การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า (1) ความสอดคล้องของมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูระดับประถมศึกษามีความสอดคล้องน้อย มีค่าเท่ากับ 0.34 (2) ผลการเปรียบเทียบความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูจำแนกตาม วุฒิการศึกษา สาขาที่จบการศึกษา ประสบการณ์การสอน ที่ตั้ง และขนาดโรงเรียน พบว่า มีค่าความสอดคล้องไม่แตกต่างกันแต่ประเภทโรงเรียนมีค่าความสอดคล้องแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Downloads

References

Charoennum, J. (2015). A study on Situations of SEAT Framework of Mainstreaming School Administrations and Guided Development of Mainstreaming School the Basic Education Institutions Office of Education School District 9. (Research report). Pathum Thani: Rajamangala University of Technology Thanyaburi.

Kaewmanee, J. (2013). A study of problems in the management of integration in schools under the jurisdiction of the secondary educational service area
office 1. (Research report). Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Kotsri, W. (2014). A study of Educational Management to Inclusive Standard of Inclusive School under The Office of Rranakorn Sri Ayutthaya Provincial Primary Education Area 1. An Online Journal of Education, 9(3), 636-648. Retrieved from http://www.edu.chula.ac.th/ojed

Lee Khaosung, W. (2010). Evaluation of Combined Learning Arrangement in Principal Action SchoolsinKhonKhaen Educational Regional Office, Area 5. (Research report). Mahasarakham: Mahasarakham University.

Ngudgratoke, S. (2012). Standard - based measurement and evaluation (Unit 6).

Porter, A.C. (2002). Measuring the content of instructions:uses in Research and PracticeEducational Researcher. 31(7), 3-14.

Sookrat, S. (2011). Inclusive Education Provision for Exceptional children with normal children in Government secondary school Songkhla province. Graduate
Research Journal, 4(1), 51–58.

Special Education Administration Office, Ministry of Education. (2013). Integrated Education standards For internal quality assurance of educational Institutions in 2012. Bangkok: Integrated Education management group.

Srisa – ard, B. (2003). Research for teachers. Bangkok: Suweeriyasan.

Thomya, J. (2013). Problems and obstacles in Integrated Education for Autistic children at the Matthayom Sueksa Level in Accordance with the Perceptions of
Teachers Under the Jurisdiction of Secondary EducationalService Area Office 2. Master of Education (Research report). Bangkok: Ramkhamhaeng University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-24

How to Cite

โคตรมนตรี พ. . . (2020). ความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนร่วมกับการจัดการเรียนร่วมของครูระดับประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3. วารสารสถาบันราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 16(1), 83–98. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RSjournal/article/view/244262