การใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลอง เพื่อพัฒนาทักษะการรอคอยในเด็กที่มีภาวะออทิซึม

ผู้แต่ง

  • วาสนา วงค์เสน นักศึกษาปริญญาโท สถาบันราชสุดา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • นัทธี เชียงชะนา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล สถาบันราชสุดา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

เรื่องราวทางสังคม , ทักษะการรอคอย , เด็กที่มีภาวะออทิซึม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลองเพื่อพัฒนาทักษะการรอคอยในเด็กที่มีภาวะออทิซึม อายุ 7 ปี เพศหญิง จำนวน 1 คน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยกรณีศึกษากรณีเดี่ยว รูปแบบ ABAB ประกอบด้วย การเก็บข้อมูลในระยะเส้นฐาน (A) และการใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลอง (B) ดำเนินการทดลองจำนวนทั้งหมด 12 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แบบคัดเลือกผู้เข้าร่วมการวิจัยและประเมินทักษะพื้นฐาน (2) แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง และ (3) แบบประเมินทักษะการรอคอย วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์กราฟแสดงผลการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการรอคอย ผลการวิจัย พบว่า ในระยะเส้นฐาน (A1) มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการรอคอย 0.83 คะแนน ต่อมาระยะการใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลอง (B1) มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการรอคอยเพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.26 คะแนน เมื่อประเมินในระยะเส้นฐาน (A2) อีกครั้ง พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการรอคอยเพิ่มขึ้นเป็น 1.45 คะเนน และในระยะที่มีการใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลอง (B2) มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการรอคอยเพิ่มสูงขึ้นเป็น 1.79 คะแนน สรุปได้ว่า การใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลองสามารถช่วยส่งเสริมทักษะการรอคอยในเด็กที่มีภาวะออทิซึมได้

Downloads

References

American Psychiatric Association. (2013). Diagnostic and statistical manual of mental disorders. Arlington,VA: Author.

Delano, M. E. (2007). Video modeling interventions for individuals with autism. Remedial and special education, 28(1), 33–42.

Gray, C. (1991). What Are Social Stories. Thegraycenter. http://www.thegraycenter.org/social-stories/what-are-social-stories/.

Gray, C. (2000). The new social story book illustrated edition. Future Horizons.

Juthapakdeekul, N. (2019). Handbook of Workshop on Assessing the Development of Management Thinking (Executive Function) in early childhood. Institute of Molecular Biosciences, Mahidol University.

Kaplan, H. I., & Sadock, B.J. (1998). Kaplan and Sadock’s Synopsis of Psychiatry. Behavioral Sciences / Clinical Psychiatry (8th ed.). William & Wilkins.

Kazdin, A. E., & Wassell, G. (1998). Treatment completion and therapeutic change among children referred for outpatient therapy. Professional Psychology: Research and practice, 29(4), 332–340.

Khaemmanee, T. (2008). Pedagogical science: Knowledge for an effective learning process. Chulalongkorn University.

Khemphukhieo, A., & Yuankratok, P. (2019). Social skills of school-age autistic children. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 30(2), 1-21.

Leitner, Y. (2014). The Co-occurrence of autism and attention deficit hyperactivity disorder in Children - What Do We Know?. Frontiers In Human Neuroscience, 8, 268.

Ongkhasing, H. (2011). Adjusting the waiting behavior of children with autism by using play activities [Unpublished master’s thesis]. Chiang Mai University.

Panyakham, C. (2015). The training of waiting skills of autistic children by using a throwing game. Special education center of Pattani Province.

Phrommanee, P. (2011). Storytelling techniques. GoToKnow. https://www.gotoknow.org/posts/456068

Piyathamwarakul, S. (2018). Development of social skills for children with autism in Ramkhamhaeng University Demonstration School using the social story method. Faculty of Education, Ramkhamhaeng University.

Rayner, C., Denholm, C., & Sigafoos, J. (2009). Video-based intervention for individuals with autism: Key questions that remain unanswered. Research in Autism Spectrum Disorders, 3(2), 291–303.

Secretariat of the Education Council, (2007). A model for promoting reading habits in children aged 1–3 years by parents and caregivers. Graphic Pepper.

Shukla-Mehta, S., Miller, T., & Callahan, K. J. (2010). Evaluating the effectiveness of video instruction on social and communication skills training for children with autism spectrum disorders: A review of the literature. Focus on Autism and Other Developmental Disabilities, 25(1), 23-36.

Sriwiset, K., (2009). Improving social skills for autistic students in co-educational primary school using social stories. Master of Education Thesis, Khon Kaen University.

Supakwatana, P. (2009). Behavioral development of children with autism using the social story method. Bachelor of Science Thesis. Chulalongkorn University.

Wiriyangkun, Y., Napanang, P., & Sinbenjapong, W. (2018). Behavior management for special education teachers. Chiang Mai University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-13

How to Cite

วงค์เสน ว. ., เชียงชะนา น. ., & ศรีสุรกุล ธ. . (2023). การใช้เรื่องราวทางสังคมผ่านการเล่านิทานร่วมกับสถานการณ์จำลอง เพื่อพัฒนาทักษะการรอคอยในเด็กที่มีภาวะออทิซึม. วารสารสถาบันราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 19(2), 57–74. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RSjournal/article/view/266014