แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยกับการสร้างองค์ความรู้ในระบบสุขภาพไทย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการสร้างองค์ความรู้ในระบบสุุขภาพไทย

Main Article Content

โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ
https://orcid.org/ 0000-0002-7101-2071
สุพัตรา ศรีวณิชชากร

บทคัดย่อ

บทความนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนผลลัพธ์ และผลกระทบของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยต่อระบบสุขภาพไทยในด้านต่าง ๆ  โดยบทความนี้นำเสนอผลงานของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในด้านการพัฒนาองค์ความรู้วิชาการ ในระบบสุขภาพไทย  ซึ่งมีเนื้อหา 3  ส่วน  ส่วนแรกเป็นการทบทวนเอกสารงานวิจัย บทเรียน ประสบการณ์ในต่างประเทศ และในประเทศไทยที่เกี่ยวข้อง  ส่วนที่สองนำเสนอผลลัพธ์งานวิชาการของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทยใน 5 ประเด็น  โดยใช้กระบวนการศึกษาผ่านการทบทวนบทความวิจัยตีพิมพ์โดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยในระยะกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ที่แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทย ได้เผชิญว่าเป็นเรื่องอะไร และแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวมีบทบาทร่วมในการตอบสนองต่อปัญหา และแก้ปัญหาบริการสุขภาพในแต่ละด้านนั้นอย่างไร ส่วนที่สาม เป็นบทวิเคราะห์วิจารณ์ ที่แปลความจากผลการศึกษาส่วนที่สอง เพื่อนำไปสู่การสรุปบทเรียน และพัฒนาข้อเสนอต่อการพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัวในระยะต่อไป


คำสำคัญ: ไทย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว องค์ความรู้ ระบบสุขภาพไทย งานวิจัย


 


This article is a part of the review of Thai family physicians’ contributions to the Thai healthcare system over the past two decades. It focuses on the academic development of these.  This is divided into three sections.


The first section reviewed relevant research, lessons learned, and experiences from both Thai and international contexts. The second section summarized five scoping reviews conducted by Thai Family Physicians in the past two decades. These reviews highlighted common health problems encountered by Thai Family Physicians, their responses, and the solutions they implemented.


The final section analyzed and interpreted the results of the second section to identify key lessons and make recommendations for future developments in Family Medicine


Keywords: Thai, family physician, knowledge, healthcare system, research

Article Details

How to Cite
1.
ทองคำเจริญ โ, ศรีวณิชชากร ส. แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยกับการสร้างองค์ความรู้ในระบบสุขภาพไทย: แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการสร้างองค์ความรู้ในระบบสุุขภาพไทย. PCFM [อินเทอร์เน็ต]. 30 กันยายน 2024 [อ้างถึง 21 มกราคม 2025];7(3):199-208. available at: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/PCFM/article/view/281704
บท
บทความพิเศษ

References

สุพัตรา ศรีวณิชชากร, สงวน นิตยารัมภ์พงศ์, ทวีเกียรติ บุญญไพศาลเจริญ, และคณะ. รายงานผลการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไป เล่ม 1: สรุปเนื้อหาสำคัญโครงการวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไป. โครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง. 2542.

สุพัตรา ศรีวณิชชากร, สงวน นิตยารัมภ์พงศ์, ทวีเกียรติ บุญญไพศาลเจริญ, และคณะ. รายงานผลการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไป เล่ม 2: รูปแบบและขบวนการเวชปฏิบัติทั่วไป/บริการปฐมภูมิในเขตเมืองและเขตชนบทในพื้นที่ต่างๆ. โครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง. 2542.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงควารู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2555.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2561.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. มาตรฐานคุณวุฒิความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (มคว.1) สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2562.

ประกาศคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิ เรื่อง บริการสุขภาพปฐมภูมิที่บุคคลมีสิทธิได้รับ พ.ศ. 2563. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137, ตอนพิเศษที่ 275 ง (ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563).

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. สถิติการฝึกอบรม [อินเทอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ 9 ก.ย. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://thaifammed.org/training/page-03-1

Ventres WB, Stone LA, Rowland KT, Streiffer RH, Macechko MD, Roulier JA, Borkan JM, Green LA. Storylines of family medicine I: framing family medicine - history, values and perspectives. Fam Med Community Health. 2024;12(Suppl 3):e002788. PubMed. PMID: 38609088

Ventres WB. Voices from family medicine: on becoming a family physician. Fam Med. 2017;49:127-31.

Gutierrez C, Scheid P. The history of family medicine and its impact in US health care delivery [Internet]. [cited 2024 Sept 9]. available from: https://www.aafpfoundation.org/content/dam/foundation/documents/who-we-are/cfhm/FMImpactGutierrezScheid.pdf

Family Physicians SAAO. The contribution of family physicians to district health services in South Africa: A national position paper by the South African Academy of Family Physicians. S Afr Fam Pract (2004). 2022;64(1):e1-e7. PubMed PMID: 35384681

Stange KC, Miller WL, McWhinney I. Developing the knowledge base of family practice. Fam Med. 2001;33:286-97.

AAFP. The specialty of Family Medicine. aafp.org [Internet]. 2024 [cited 2024 Sept 9]. Available from https://www.aafp.org/about/dive-into-family-medicine/family-medicine-speciality.html

Ponka D, Arya N, Malboeuf V, Leung C, Wilson CR, Israel K, Jantsch AG, Cuba-Fuentes MS, Michaelides O, Rouleau K. The Contribution of Family Medicine and Family Medicine Leaders to Primary Health Care Development in Americas - from Alma-Ata to Astana and beyond. Cien Saude Colet. 2020;25: 1215-20.

Gotler RS. Unfinished business: The role of research in family medicine. Ann Fam Med. 2019;17:70-6.

Smith R. John Fry. Researcher in family practice. J Fam Pract. 1975;2:323.

Chiang Mai University. Famscholar [Internet]. 2023 [cited 2024 Jan 28]. Available from: https://famscholar.fmpccmu.com/

ธัชวิทย์ สุธรรม, วาลิกา รัตนจันทร์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขตงานวิจัยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว: “โครงการประเมินผลกระทบของแพทย์เวช-ศาสตร์ครอบครัวไทยในช่วง 2 ทศวรรษ (2534-2566)”. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2567;7:217-24.

จตุพร เชียงแรง, วาลิกา รัตนจันทร์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขตงานวิจัยเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่จัดทำโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยในช่วงสองทศวรรษ (2543-2566). วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2567;7:209-216.

ธนพล ตั้งสกุล, อรรถกร รักษาสัตย์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. บทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยต่อการพัฒนาการดูแลประคับประคองในช่วง 2 ทศวรรษ. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2567;7:241-251.

สมธนญ พงศานานุรักษ์, วาลิกา รัตนจันทร์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขตงานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพจิตที่จัดทำโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยในช่วงสองทศวรรษ (2543-2566). วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2567;7:233-40.

ชญานิศ รัตนกาญจน์, สิรินรัตน์ แสงศิริรักษ์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การทบทวนขอบเขตงานวิจัยด้านสุขภาพแม่และเด็กที่ได้รับการตีพิมพ์โดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทย: “โครงการประเมินผลกระทบของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวไทยในช่วงสองทศวรรษ”. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2567;7:225-32.