คุณภาพของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ และการบริหารจัดการระบบประเมินคุณภาพ ในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ลักษณะสำคัญของระบบบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพดี ประกอบด้วย การเป็นบริการด่านแรก เข้าถึงบริการสะดวก มีการดูแลแบบผสมผสาน ให้การดูแลต่อเนื่อง มีการประสานเชื่อมโยงระบบบริการที่ดี เป็นการดูแลที่่ใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง มีการดูแลที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน และเป็นการดูแลทีมีสมรรถนะเชิงวัฒนธรรม การประเมินคุณภาพระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยในอดีตมุ่งเน้นการประเมินคุณภาพบริการในมิติโครงสร้าง บทความนี้นำเสนอความหมาย แก่นคุณค่าคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิและวิธีประเมินคุณภาพที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิในบริบทประเทศไทย และเสนอแนวคิดการบริหารจัดการคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิ ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร PCFM ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร PCFM ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร PCFM หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสาร PCFM ก่อนเท่านั้น
References
WHO Regional Office for Europe. Primary Care Evaluation Tool (PCET [Internet].[cited 17 December 2022]; Available from: https://www.euro.who.int/__data/assets/pdf_file/0004/107851/PrimaryCareEvalTool.pdf
The Johns Hopkins Primary Care Policy center. Primary Care Assessment Tools [Internet]. [cited 17 March 2015]. Available from: https://www.jhsph.edu/research/centers-and-institutes/johns-hopkins-primary-care-policy-center/pca_tools.html
สุพัตรา ศรีวณิชชากร. สาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการปฐมภูมิ และเวชศาสตร์ครอบครัว นิยาม ความหมาย และความเชื่อมโยง, วารสารระบบบริการปฐมภูมิ และเวชศาสตร์ครอบครัว, 2552;1:11-5.
กระทรวงสาธารณสุข, ประกาศคณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิ เรื่องบริการสุขภาพปฐมภูมิที่บุคคลมีสิทธิได้รับ พ.ศ. 2563, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 13 ตอนพิเศษ 275 หน้า 35-37, 24 พฤศจิกายน 2563
สุพัตรา ศรีวณิชชากร, หทัยทิพย์ ธรรมวิริยะกุล. รายงานการศึกษาสถานการณ์คุณภาพระบบบริการปฐมภูมิจากมุมมองผู้รับบริการวัยผู้ใหญ่. สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน; 2558
กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, Starfield B. การประเมินบริการปฐมภูมิของประเทศไทยจากมุมมองผู้ให้บริการ วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข. 2550; 2(3): 401-408
WHO. WHO global strategy on people-centred and integrated health services: interim report [Internet]. Geneva PP - Geneva: World Health Organization; 2015. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/155002
NHS England and NHS Improvement. Online library of Quality, Service Improvement and Redesign tools: A model for measuring quality care [Internet]. [cited 2023 Apr 8]. Available from: https://www.england.nhs.uk/wp-content/uploads/2022/02/qsir-measuring-quality-care.pdf
Donabedian A. Evaluating the Quality of Medical Care. The Milbank Quarterly 2005;83(4):691-729
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. คู่มือแนวทางการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ และหน่วยบริการร่วมให้บริการ. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดแสงจันทร์การพิมพ์; 2560.
สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือคุณภาพมาตรฐาน บริการสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2566. นนทบุรี: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์; 2566.
Starfield B. A Basis for Evaluating Primary Care. Primary care: Concept, Evaluation and Policy. London: Oxford University Press; 1992. p 9-21.
World Health Organization and the United Nations Children’s Fund (UNICEF). Primary health care measurement framework and indicators: monitoring health systems through a primary health care lens. Geneva,: 2022