ความสัมพันธ์ของระยะการป่วยเป็นเบาหวานและการควบคุมระดับน้ำตาลต่อการเกิดภาวะจอตาผิดปกติจากเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลศรีสะเกษ

Main Article Content

กุลธิดา สุทธิโชติ
นรีวรรณ เขียวอิ่ม
นิธิกุล เต็มเอี่ยม

บทคัดย่อ

ที่มา: ความดันโลหิตสูงเป็นหนึ่งในภาวะที่พบได้บ่อย ภาวะกรดยูริกสูงนอกจากจะมีความสัมพันธ์กับโรคเก๊าต์แล้ว ยังมีการรายงานความสัมพันธ์กับการเกิดโรคความดันโลหิตสูงอีกด้วยแต่ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะกรดยูริกในเลือดสูงในรูปแบบปัจจัยเสี่ยง อิสระกับการเกิด
ระดับความดันโลหิตสูงยังคงไม่มีข้อมูลสรุปชัดเจน ประเทศไทยมีการศึกษาเกี่่ยวกับความสัมพันธ์ดังกล่าวอยู่ไม่มาก และไม่พบการศึกษาที่่เฉพาะเจาะจงกับช่วงอายุ โดยเฉพาะกับอาชีพตำรวจซึ่่งเป็นอาชีพที่่เสี่่ยงต่อการเกิดโรคเรื้้อรังค่อนข้างสูง
วัตถุประสงค์: ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะกรดยูริกในเลือดสูงกับระดับความดันโลหิตสูงในแต่ละกลุ่มช่วงอายุ ในประชากรตำรวจ
วัสดุและวิธีิการ: เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การศึกษาเชิงสังเกต ในรูปแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์์ ในตำรวจที่่เข้ารับการรักษาและตรวจสุุขภาพ ณ คลินิกตำรวจและศูนย์ตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลตำรวจ โดยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยนอก เฉพาะผู้ที่่มีอายุุ 30 ปีขึ้้นไป ในช่วงระหว่างวันที่่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่่ 31 ธัันวาคม พ.ศ.2561 ใช้สถิติ Multiple linear regression และ Multiple logistic regression โดยปรับอิทธิพลของตัวกวน ได้แก่ เพศ, BMI, cholesterol, HbA1C, eGFR ในการหาความสัมพันธ์ข้างต้น
ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมงานวิจัย 1,307 คน (แบ่ง 3 กลุ่มช่วงอายุ คือ 30-39 ปี, 40-59 ปี,และ 60 ปีขึ้นไป) การวิเคราะห์พบว่าระดับกรดยูริกในเลือดที่่สูงขึ้นจะสัมพันธ์กับความดันโลหิตซิสโตลิกที่่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มอายุ 30-39 ปี และ 40-59 ปี และสัมพันธ์กับ
ความดันโลหิตไดแอสโตลิกที่่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มอายุ 40-59 ปี โดยสรุป พบว่าภาวะกรดยูริกในเลือดสูงสัมพันธ์กับการเกิดระดับความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสำคัญในกลุ่มอายุ 40-59 ปี
สรุุป: ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะกรดยูริกในเลือดสูงกับระดับความดันโลหิตสูงในกลุ่มคนอายุน้อย คือช่วงอายุ 40-59 ปี และพบความสัมพันธ์เชิงบวกของระดับกรดยูริกในเลือดกับความดันโลหิตซิสโตลิกและความดันโลหิตไดแอสโตลิกในกลุ่มคนอายุน้อยเช่นกัน

Article Details

How to Cite
1.
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

เอกสารอ้างอิง

IDF Diabetes Atlas [ Internet ].IDF Diabetes Atlas update,2019. Available from :www.diabetesatlas.org.

สำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานสถานการณ์โรคเรื้อรัง ในประเทศไทย. นนทบุรี :สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ; 2562. In.

Yau JWY, Rogers SL, Kawasaki R, Lamoureux EL, Kowalski JW, Bek T, et al. Global prevalence and major risk factors of diabetic retinopathy. Diabetes Care. 2012 Mar;35(3):556–64.

National Health Security Office (NHSO), Thailand. Annual report 2019 [Internet]. [cited 2021 Aug 7]. Available from: https://eng.nhso.go.th/assets/portals/1/files/annual_report/Annual%20report_final%202019.pdf

Isipradit S, Sirimaharaj M, Charukamnoetkanok P, Thonginnetra O, Wongsawad W, Sathornsumetee B, et al. The First Rapid Assessment of Avoidable Blindness (RAAB) in Thailand. Ablonczy Z, editor. PLoS ONE. 2014 Dec 11;9(12):e114245.

Jongsareejit A, Potisat S, Krairittichai U, Sattaputh C, Arunratanachote W. The Thai DMS Diabetes Complications (DD.Comp.) project: prevalence and risk factors of diabetic retinopathy in Thai patients with type 2 diabetes mellitus. J Med Assoc Thail Chotmaihet Thangphaet. 2013 Nov;96(11):1476–82.

กู้ศักดิ์ บำรุงเสนา. ความชุกและปัจจัยทำนายการเกิดภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลสงขานครินทร์ จังหวัดสงขลา. รายงานการเฝ้า ระวังทางระบาดวิทยารายสัปดาห์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2561(8):593–8.

วิชิต ปวรางกูร. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลนันอา กรุงเทพฯ. เชียงรายเวชสาร. 2560(9):73–82.

สุขุม ศิลปอาชา รุ่งทิพัย สุขวรรณ์. ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการเปลี่ยนแปลงที่จอตาจากเบาหวานในโรงพยาบาลจันทรุเบกษา กรมแพทย์ทหารอากาศ กองทัพอากาศ. จดหมายเหตุทางแพทย์ แพทยสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555(95):43–9.

เด่นชัย ตั้งมโนกุล. ความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 หน่วยตรวจเวชปฏิบัติครอบครัวโรงพยาบาล่สรรพสิทธิประสงค์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปีที่ 33. กันยายน-ธันวาคม 2561(3):227–35.

พิชิต ตรีไตรสิทธิ. อุบัติการณ์ ระยะเวลาการเกิดเบาหวานขึ้นจอประสาทตา และปัจจัยที่มีผลต่อเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลขุนหาญ. [วิทยานิพนธ์วุฒิบัตรเวชศาสตร์ครอบครัว]. ศรีสะเกษ: โรงพยาบาลศรีสะเกษ; 2564.

ศศินันท์ พิพัฒบัณฑิตสกุล. การศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อโรคเบาหวานขึ้นจอตา ในเขตอำเภอเมืองบึงกาฬ. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี ปีที่ 26. มกราคม-เมษายน 2561(1):39–47.

นิธิกุล เต็มเอี่ยม. ความครอบคลุมของการตรวจจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานและความชุกของภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในจังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ.2553 - 2555. รายงานการเฝ้า ระวังทางระบาดวิทยารายสัปดาห์ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2556(44):49–56.

อาภัทรสา เล็กสกุล. จักษุวิทยารามาธิบดี. 1st ed. บริษัท ธรรมสาร จำกัด: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี; 2561. 352 p.

สุธาสินี สีนะวัฒน์. โรคจอตาและวุ้นตาที่พบบ่อย. 1st ed. หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา: หน่วยจอตาและวุ้นตา ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแแก่น; 2559. 302 p.

Chanlalit W. ภาวะแทรกซ้อนทางตา จากโรคเบาหวาน; Ocular complications from diabetes mellitus. J Med Health Sci. 2016 Aug 16;23(2):36–45.

Ting DSW, Cheung GCM, Wong TY. Diabetic retinopathy: global prevalence, major risk factors, screening practices and public health challenges: a review. Clin Experiment Ophthalmol. 2016;44(4):260–77.

คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2560. In สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ, สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร; 2560.

พชร ศศะนาวิน. ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลนครพิงค์. วารสารโรงพยาบาลนครพิงค์ปีที่ 12. 2564;12(1):43–64.

อนุพจน์ สมภพสกุล, ยุพเยาว์ เอื้ออารยาภรณ์, พนม สุขจันทร์, ปวริศ หะยีอามะ, ฟาดีละห์ เจ๊ะสนิ, กรชนก ตั้งนภาดล, et al. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. กันยายน-ธันวาคม 2555(4):29–43.

เทียนชัย เมธานพคุณ. ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในโรงพยาบาลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารแพทย์เขต 4-5 ปีที่ 39. เมษายน-มิถุนายน 2563(2):178–88.

อริย์ธัช เอี่ยมอุดมสุข, กรรณิกา เอี่ยมอุดมสุข. ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 สถาบันราชประชาสมาสัย. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย. พฤษภาคม-สิงหาคม 2557(2):109–17.

Wisit Chaveepojnkamjorn, Pornpana Somjit, Suthee Rattanamongkolgul, Sukhontha Siri, Natchaporn Pichainarong. Factors associated with diabetic retinopathy among type 2 diabetic patient: A hospital based case control study. Southeast Asian J Trop Med Public Health. March 2015(46):322–9.

Lima VC, Cavalieri GC, Lima MC, Nazario NO, Lima GC. Risk factors for diabetic retinopathy: a case–control study. Int J Retina Vitr. 2016 Sep 12;2:21.

Douglas A Stram, Xuejuan Jiang, Rohit Varma, Mina Torres, Bruce S Burkemper, Farzana Choudhury, et al. Factors Associated with Prevalent Diabetic Retinopathy in Chinese Americans: The Chinese American Eye Study. Ophthalmol Retina. 2018(2):96–105.

จิตรพรรณี บุญทองคง. อุบัติการณ์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในโรงพยาบาลสมุทรสาคร ในช่วงปี 2558. วารสารแพทย์เขต 4-5 ปีที่ 38. กรกฎาคม-กันยายน 2562(3):226–30.

Rattana Leelawattana, Thongchai Pratipanawatr, Pongamorn Bunnag, Natapong Kosachunhanun, Sompongse Suwanwalaikorn, Sirinate Krittiyawong, et al. Thailand diabetes registry project : prevalence of vascular complications in long-standing type 2 diabetes. J Med Assoc Thai. 2006;(1):54–9.

Xu J, Wei WB, Yuan MX, Yuan SY, Wan G, Zheng YY, et al. Prevalence and risk factors for diabetic retinopathy: the Beijing Communities Diabetes Study 6. Retina Phila Pa. 2012 Feb;32(2):322–9.

Pan C-W, Wang S, Qian D-J, Xu C, Song E. Prevalence, Awareness, and Risk Factors of Diabetic Retinopathy among Adults with Known Type 2 Diabetes Mellitus in an Urban Community in China. Ophthalmic Epidemiol. 2017 Jun;24(3):188–94.

Boonsaen T, Choksakunwong S, Lertwattanarak R. Prevalence of and Factors Associated with Diabetic Retinopathy in Patients with Diabetes Mellitus at Siriraj Hospital - Thailand’s Largest National Tertiary Referral Center. Diabetes Metab Syndr Obes Targets Ther. 2021;14:4945–57.

Chetthakul T, Deerochanawong C, Suwanwalaikorn S, Kosachunhanun N, Ngarmukos C, Rawdaree P, et al. Thailand Diabetes Registry Project: Prevalence of Diabetic Retinopathy and Associated Factors in Type 2 Diabetes Mellitus. 2006;89:10.

Bernard, R. Fundamentals of biostatistics. Vol. 5th ed. Duxbery: Thomson learning; 2008. 308 p.

Agroiya P, Philip R, Saran S, Gutch M, Tyagi R, Gupta K. Association of serum lipids with diabetic retinopathy in type 2 diabetes. Indian J Endocrinol Metab. 2013;17:S335-7.

Wong J, Molyneaux L, Constantino M, Twigg SM, Yue DK. Timing is everything: age of onset influences long-term retinopathy risk in type 2 diabetes, independent of traditional risk factors. Diabetes Care. 2008 Oct;31(10):1985–90.