การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมแบบฝึกในการพัฒนาสมองในผู้สูงอายุที่มี ภาวะปริชานปัญญาบกพร่องเล็กน้อยในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลจอมทอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ที่่มา: ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สููงอายุ อุบัติการณ์ของภาวะปริชานปัญญาบกพร่่องเล็กน้อยเพิ่มมากขึ้น ภาวะดังกล่าวเพิ่มโอกาสเกิดโรคสมองเสื่อม การฝึกกระตุ้้นการทำงานของสมองอาจชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมในอนาคตได้้
วัตถุุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมแบบฝึกในการพัฒนาสมองในผู้้สููงอายุุที่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่่องเล็กน้อยในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลจอมทอง
แบบวิจัย: single blinded- randomized controlled trial
วัสดุุและวิธีการ: ศึกษาในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่่องเล็็กน้้อยในพื้นที่บริการโรงพยาบาลจอมทองจำนวน 62 คน สุ่มให้ได้รับการกระตุ้นสมองวิธีเดิม 30 คน และวิธีใหม่ 32 คน วัดการเปลี่ยนแปลงผลคะแนน TMSE และ MoCA ที่ 3 เดืือน
ผลการศึึกษา: ผู้สูงอายุที่ได้รับการกระตุ้นสมองทั้งสองวิธีมีคะแนน TMSE และ MoCA เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยการกระตุ้นสมองวิธีเดิมเพิ่มคะแนน TMSE 1.63 คะแนน(p = 0.001) และ MoCA 3.07 คะแนน (p = 0.001) ส่วนการกระตุ้นสมองวิธีใหม่เพิ่มคะแนน TMSE 1.97 คะแนน (p = 0.004 ) และ MoCA 2.59 คะแนน (p < 0.001) โดยไม่พบความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบคะแนน TMSE และ MoCA ที่เพิ่มมากขึ้นระหว่างสองวิธีทั้งสองวิธีสามารถเพิ่มประสิทธิภาพด้าน language เมื่อทดสอบด้วย TMSEและเพิ่มประสิทธิภาพด้าน visuospatial/executive, language และ abstraction เมื่อทดสอบด้วย MoCA
สรุุป: ประสิทธิผลของการกระตุ้นการทำงานของสมองทั้งสองวิธีไม่แตกต่างกัน การเลือกวิธีกระตุ้นการทำงานของสมองในผู้ป่วยปริชานปัญญาบกพร่องเล็กน้อยควรพิจารณาบริบทอื่นร่วมด้วย เช่น ความพร้อมด้านบุุคลากร ทรัพยากร และเวลา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร PCFM ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร PCFM ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร PCFM หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสาร PCFM ก่อนเท่านั้น
References
ภรัญวิทย์ อนันต์ดิลกฤทธิ์. ภาวะสมองเสื่อม. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2564;15:392-8.
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติ ภาวะสมองเสื่อม clinical practice guideline: Demen- tia. กรุงเทพฯ: สถาบันประสาทวิทยา; 2557. หน้า 11-21, 23-28, 99-110.
มาโนช หล่อตระกูล. คู่มือการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับแพทย์. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข; 2544. หน้า 35-44.
อรวรรณ์ คูหา, จิตนภา วาณิชวโรตม์, บูริณีบุญมีพิพิธ, นันทศักดิ์ ธรรมานวัตร์. โครงการการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ แบบทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบื้องต้น ฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai) 2002 และแบบทดสอบสมรรถภาพสมองไทย (Thai Mini-Mental State Examination; TMSE) ในการคัดกรองผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม: สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2551.
สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล, ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล, ชัยยศ คุณานุสนธ์, วิพุธ พูลเจริญ. ปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ; 2542. หน้า 58-66.
Petersen RC, Lopez O, Armstrong MJ, Getchius TSD, Ganguli M, Gloss D, et al. Practice guideline update summary: Mild cognitive impairment: Report of the Guideline Development, Dissemination, and Imple- mentation Subcommittee of the American Acad- emy of Neurology. Neurology. 2018;90:126-35.
Naomi R. Kass, Marco Pares. Ferri’s Clinical Advi- sor 2022. In: Ferri F, editor. Subjective cognitive de- cline. City: Elsevier; 2022. p. 1434.
ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี, แสงศุลีธรรมไกรสร, พัฒน์ศรี แสงสุวรรณ. คู่มือป้องกันในผู้สูงอายุ ยากันลืม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย; 2557. หน้า 6-10.
อาทิตยา สุวรรณ์, สุทิศรี ตระกูลสิทธิโชค. ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลหลักหก อำ เภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. Prevalence and Factors Associated with Dementia among Elderly in Lukhok Subdistrict, Muang Dis- trict, Pathumtani Provinc. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 2559;5:21-32.
ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี, แสงศุลี ธรรมไกรสร, พัฒน์ศรี แสงสุวรรณ. การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องมาตรการการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ (System- atic review of dementia prevention in elderly). โครงการประเมินเทคโนโลยแีละนโยบายด้านสุขภาพ. 2557.
Christiane Reitz, Ming-Xin Tang, Jennifer Manly, Richard Mayeux, Jose´ A. Luchsinger. Hypertension and the Risk of Mild Cognitive Impairment. Arch neurol. 2007;64:1734.
รัชนี นามจันทรา. การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม Rehabilitation of elders with dementia. วารสารมฉกวิชาการ. 2553;14:137-50.
Valenzuela M, Sachdev P. Can cognitive exercise prevent the onset of dementia? Systematic review of randomized clinical trials with longitudinal fol- low-up. Am J Geriatr Psychiatry. 2009;17:179-87.
Woods AJ, Cohen R, Marsiske M, Alexander GE, Cza- ja SJ, Wu S. Augmenting cognitive training in older adults (The ACT Study): Design and Methods of a Phase III tDCS and cognitive training trial. Contemp Clin Trials. 2018;65:19-32.
Kulason K, Nouchi R, Hoshikawa Y, Noda M, Okada Y, Kawashima R. The beneficial effects of cognitive training with simple calculation and reading aloud (SCRA) in the elderly postoperative population: a pilot randomized controlled trial. Front Aging Neu- rosci. 2018;10:68.
Sherman DS, Mauser J, Nuno M, Sherzai D. The ef- ficacy of cognitive intervention in mild cognitive impairment (mci): a meta-analysis of outcomes on neuropsychological measures. Neuropsychol Rev. 2017;27:440-84.
ศิริมา เขมะเพชร, รจนาถ หอมดี. การส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม Health promotion for prevent- ing dementia. วารสารพยาบาลตำ รวจ. 2020;12:457-63.
Angevaren M, Aufdemkampe G, Verhaar HJ, Ale- man A, Vanhees L. Physical activity and enhanced fitness to improve cognitive function in older peo- ple without known cognitive impairment. Cochrane Database Syst Rev. 2008(3):CD005381.
Sydenham E, Dangour AD, Lim WS. Omega 3 fat- ty acid for the prevention of cognitive decline and dementia. Cochrane Database Syst Rev. 2012(6):CD005379.
พีรยา มั่นเขตวิทย์, เพื่อนใจ รัตตากร, ศุภลักษณ์ เข็มทอง, สายฝน ซาวล้อม. การบำบัดรักษาทางกิจกรรมบำบัด
สำหรับผู้ที่มีความบกพร่องของการรับรู้และความรู้ความเข้าใจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2553. หน้า 1-40, 197-213.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่, คณะกรรมการพัฒนาระบบงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่, ชมรมนักกิจกรรมบำบัดเชียงใหม่. แบบฝึกในการพัฒนาสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม. เชียงใหม่: สำ นักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่; 2563.
ปัญจนาฏ วรวัฒนชัย. กลไกสมองสองซีกกับความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์. วารสารสารสนเทศ. 2559;15:1-11.
จุฑามาศ วงจันทร์, มยุรีลี่ทองอิน, สิริมาศ ปิยะวัฒนพงศ์. ผลของโปรแกรมบริหารสมองต่อการรู้คิดในผู้สูงอายุ. วารสารสภาการพยาบาล. 2563;35:70-84.
สุภจิตร ตรีกุล. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อฝึกความจำสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม โรงพยาบาลธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2556.
ดาวชมพู นาคะวิโร, สิรินทร ฉันศิริกาญจน, พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ, อรพรรณ แอบไธสง, ภัทรา สุดสาคร, จารุณี วิทยาจักษุ์, และคณะ. การกระตุ้นความสามารถสมองด้านทักษะการจัดการความใส่ใจ ความจำและมิติสัมพัทธ์ในผู้ที่มี สมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น Group-Based train- ing of executive function, attention, memory and visuospatial function(Team-V) in patients with mild neurocognitive disorder. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2560;62:337-48.
จิตติมา ดวงแก้ว, ศิริพันธุ์ สาสัตย์. ผลของโปรแกรมการฝึกการรู้คิดต่อการทำหน้าที่ด้านการรู้คิดของผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในสถานสงเคราะห์คนชราภาครัฐ The effect of cognitive training program on cogin- itive function in mild cognitive impairment older people in govermental welfare home for the aged. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2561;10:12-20.
Barban F, Annicchiarico R, Pantelopoulos S, Fed- erici A, Perri R, Fadda L, et al. Protecting cognition from aging and Alzheimer’s disease: a computer- ized cognitive training combined with reminiscence therapy. Int J Geriatr Psychiatry. 2016;31:340-8.
Buschert VC, Friese U, Teipel SJ, Schneider P, Mer- ensky W, Rujescu D, et al. Effects of a newly devel- oped cognitive intervention in amnestic mild cog- nitive impairment and mild Alzheimer’s disease: a pilot study. J Alzheimers Dis. 2011;25:679-94.
Jeong JH, Na HR, Choi SH, Kim J, Na DL, Seo SW, et al. Group- and Home-Based Cognitive Intervention for Patients with Mild Cognitive Impairment: A Ran- domized Controlled Trial. Psychother Psychosom. 2016;85:198-207.
พัชญ์พิไล ไชยวงศ์, เพื่อนใจ รัตตากร, พีรยา มั่นเขตวิทย์. ผลของโปรแกรมฝึกความคิดความเข้าใจต่อความสามารถด้าน
ความคิดความเข้าใจและคุณภาพชีวิตข องผู้สูงอายุที่สงสัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่. 2015;48:182-91.
Park H, Park JH, Na HR, Hiroyuki S, Kim GM, Jung MK, et al. Combined intervention of physical activ- ity, aerobic exercise, and cognitive exercise inter- vention to prevent cognitive decline for patients with mild cognitive impairment: a randomized con- trolled clinical study. J Clin Med. 2019;8:94