การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรคโควิด-19 ที่บ้านและในชุมชน

Main Article Content

ปราโมทย์ ถ่างกระโทก
ณัฐชยา พลาชีวะ
วินัย ไตรนาทถวัลย์
พรวดี ธาตุดี
ปริศนา บุญประดิษฐ

บทคัดย่อ

การนำแนวคิดการจัดการดูแลให้ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรืออาการไม่รุนแรงได้รับการรักษาโดยวิธีการแยกกักตัวที่บ้านและในชุมชนมีเป้าหมายสำคัญเพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยในสถานบริการสุขภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์ การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรคโควิด-19 ที่บ้านและในชุมชนจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการให้เท่าทันต่อสถานการณ์ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรคโควิด-19 ที่บ้านและในชุมชน ประกอบด้วย 1) แนวคิดการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในชุมชน 2) องค์ประกอบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ และ 3) วิธีปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อของโรคโควิด-19 ที่บ้านและในชุมชน โดยมุ่งเน้นความปลอดภัยและคุณภาพของการดูแลผู้ป่วยในบริบทบริการสุขภาพปฐมภูมิเป็นสำคัญ

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความปริทัศน์

References

Baylor College of Medicine. Introduction to infectious diseases. Houston: TX Department of Molecular Virology and Microbiology; 2021.

World Health Organization. WHO Coronavirus (COVID-19) Dashboard. Geneva: WHO Headquarters (HQ); 2022.

World Health Organization. The impact of COVID-19 on global health goals. Geneva: World Health Organization; 2021.

Aleem A, Akbar Samad AB, Slenker AK. Emerging variants of SARS-CoV-2 and novel therapeutics against Coronavirus (COVID-19). StatPearls. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2022.

กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทย. นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2564.

กรมการแพทย์. แนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ในการให้คำแนะนำผู้ป่วยและการจัดบริการผู้ป่วย COVID-19 แบบ Home Isolation ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กรณีระหว่างรอเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาลหรือระหว่างรอครบกำหนด 14 วัน หรือหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลหรือสถานที่รัฐจัดให้ก่อนกำหนด. นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2564.

กรมการแพทย์. แนวทางการแยกกักผู้ป่วย COVID-19 ในชุมชน (Community Isolation). นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2564.

กองแผนงาน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนพัฒนาด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2561.

Gillman MW. Primordial prevention of cardiovascular disease. Circulation. 2015;131(7):599-601.

Kisling LA, M Das J. Prevention strategies. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing;; 2021.

ปราโมทย์ ถ่างกระโทก, ขวัญศิริ พรหมอินทร์, ณัฐชยา พลาชีวะ, พัชรธิดา พินรัตน์. การดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่มีอาการหลงเหลือหลังติดเชื้อโควิด-19 ในระยะยาว: กรณีศึกษา. รามาธิบดีเวชสาร. 2565;45(2):28-42.

U.S. Department of Health & Human Services. Principles of epidemiology in public health practice. Washington: Deputy Director for Public Health Science and Surveillance, Center for Surveillance, Epidemiology, and Laboratory Services, Division of Scientific Education and Professional Development; 2012.

Association for Professionals in Infection Control and Epidemiology. Break the chain of infection. Washington, DC Association for Professionals in Infection Control and Epidemiology; 2016.

World Health Organization. Infection prevention and control. Geneva: World Health Organization; 2021.

World Health Organization. Guidelines on core components of infection prevention and control programmes at the national and acute health care facility level. Geneva: World Health Organization; 2016.

Manchanda V, Suman U, Singh N. Implementing infection prevention and control programs when resources are limited. Current Treatment Options in Infectious Diseases. 2018;10(1):28-39.

University of St. Augustine for Health Sciences. What is the role of an infection control nurse? . St. Augustine: FL University of St. Augustine for Health Sciences (USAHS); 2020.

World Health Organization & United Nations Children's Fund (‎UNICEF). Water, sanitation, hygiene, and waste management for the COVID-19 virus: interim guidance. Genewa: World Health Organization & United Nations Children's Fund (‎UNICEF); 2020.

Rutala WA, Weber DJ. Best practices for disinfection of noncritical environmental surfaces and equipment in health care facilities: A bundle approach. Am J Infect Control. 2019;47s:A96-a105.

Trainattawan W, Pratanvorapanya W, Palacheewa N, Thangkratok P. Health information seeking behaviors of older adults in the digital era. J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center. 2020;37(4):356-63.

Thangkratok P, Palacheewa N, Trainattawan W, Boonpradit P. Mental health literacy: concept and application for mental health problem prevention in older adults. Chiang Mai Medical Journal. 2020;59(3):163-72.

Poompong S. Home health care during the coronavirus disease 2019 pandemic: a review. Journal of Primary Care and Family Medicine. 2020;3(2):19-29.

World Health Organization. Improving infection prevention and control at the health facility: interim practical manual supporting implementation of the WHO Guidelines on Core Components of Infection Prevention and Control Programmes. Geneva: World Health Organization; 2018.

World Health Organisation. Hand hygiene: why, how & when? . Geneva: World Health Organisation; 2009.

Waste4Change. How to manage waste to prevent the spread of the COVID-19 virus. Jawa Barat: Kantor Waste4Change; 2021.

กรมอนามัย. คำแนะนำในการทำความสะอาด ทำลายและฆ่าเชื้อโรคในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). นนทบุรี: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2564.

World Health Organization. Cleaning and disinfection of environmental surfaces in the context of COVID-19. Geneva: WHO Headquarters (HQ); 2020.

กรมอนามัย. คำแนะนำการระบายอากาศเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). นนทบุรี: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2564