การวัดความเที่ยงตรง ความไวและความจำเพาะแบบสอบถาม Knee Osteoarthritis Pre-Screening ในการคัดกรองผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อมฉบับภาษาไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ที่มา: โรคเข่าเสื่อมนําไปสู่ความทุพพลภาพส่งผลต่อคุณภาพชีวิตอัตราบาดเจ็บอัตราตายและค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นการตรวจคัดกรองเป็นการป้องกันระดับทุติยภูมิที่มีความสําคัญแต่ประเทศไทยยังไม่มีเครื่องมือคัดกรองที่ใช้ได้ทั้งกลุ่มช่วงอายุผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์: การวัดความเที่ยงตรงความไวและความจําเพาะของแบบสอบถามKnee Osteoarthritis Pre-Screening (KOPs) ฉบับภาษาไทยและการหาความชุกโรคเข่าเสื่อม
วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบDiagnostic study ช่วงที่ 1 ได้แก่การแปลแบบสอบถามKOPs เป็นภาษาไทยวัดความตรงของเนื้อหาและวัดความเที่ยงโดยการทดสอบซํ้าในเจ้าหน้าที่จํานวน 30 คนและช่วงที่ 2 ได้แก่การหาความไวและความจําเพาะของแบบสอบถามฉบับภาษาไทยรวมถึงหาความชุกของโรคเข่าเสื่อมจากการเก็บข้อมูลผู้ป่วยคลินิกผู้ป่วยนอกตรวจโรคทั่วไปจํานวน 100 คน
ผลการศึกษา: แบบสอบถามKOPs ฉบับภาษาไทยวัดความตรงของเนื้อหามีค่าIndex of Item – Objective Congruence (IOC) เกิน 0.5 วัดความเที่ยงโดยการทดสอบซํ้ามีค่า≥ 80% และมีค่าCronbach’s alpha 0.804 แบบสอบถามมีค่าความไวและจําเพาะ94.4% และ 70.7% ตามลําดับที่จุดตัด 11.5 คะแนนมีค่าความชุกโรคเข่าเสื่อมตามแบบสอบถามKOPs ฉบับภาษาไทยและตามเกณฑ์วินิจฉัยอ้างอิงตามACR criteria เท่ากับ 34% และ 18% ตามลําดับ
สรุป: แบบสอบถามKOPs ฉบับภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพในการนํามาใช้คัดกรองโรคเข่าเสื่อมประชากรไทยสามารถใช้ได้ในประชากรตั้งแต่วัยผู้ใหญ่ถึงช่วงวัยผู้สูงอายุคําสําคัญ: โรคเข่าเสื่อม, แบบสอบถาม, คัดกรอง, ความเที่ยงตรง, ความไวและความจําเพาะ, ความชุก
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร PCFM ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสาร PCFM ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร PCFM หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสาร PCFM ก่อนเท่านั้น
References
2. นิมิตรอานันท์น. (1). สถานการณ์ทางระบาดวิทยาและการประเมินความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมในคนไทย The Epidemiological Situation and Risk Assessment of Knee Osteoarthritis among Thai People. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 15(3), 185-194. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30482
3. Maetzel A, Li LC, Pencharz J, Tomlinson G, Bombardier C, Community H, et al. The economic burden associated with osteoarthritis, rheumatoid arthritis, and hypertension: a comparative study. Ann Rheum Dis. 2004;63(4):395-401.
4. กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ : พิมพ์ครั้งที่ 1. ประเทศไทย: โรงพิมพ์วชัรินทร์ พี.พี. ;2556. หน้า 30.
5. 6th Asia Pacific Primary Care Research Conference (APPCRC) in Conjunction with Family Medicine Symposium. (2018). Methods of screening for knee osteoarthritis: a systematic review. [online] Available at: https://polyclinic.singhealth.com.sg/EducationAndTraining/Documents/APPCRC/Sessions/Session%2010%20%20Methods%20of%20Screening%20for%20Knee%20Osteoarthritis%20by%20Isabelle%20Yoong.pdf [Accessed 4 Dec. 2018].
6. Satayavongthip B, Kerdchantuk P, Hanrinth R, Methieng T, Khunpimul P. Development of the Thai Knee Osteoarthritis Screening Questionnaire (Thai-KOA-SQ) in Kanleurng Sub-District, Nakronpanom Province. J Med Assoc Thai. 2011;94(8):947-51.
7. Quintana JM, Arostegui I, Escobar A, Lafuente I, Arenaza JC, Garcia I, et al. Validation of a screening questionnaire for hip and knee osteoarthritis in old people. BMC Musculoskelet Disord. 2007;8:84.
8. Yázigi F, Carnide F, Espanha M, Sousa M. Development of the Knee OA Pre-Screening Questionnaire. International Journal of Rheumatic Diseases. 2016 Jun;19(6):567-576.
9. สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม (Guideline for the Treatment of Osteoarthritis of Knee) พ.ศ. 2553. [อินเตอร์เน็ต]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 4 ธันวาคม 2563].เข้าถึงได้จาก:http://www.thairheumatology.org/wp-content/uploads/2016/08/Guideline-for-Management-of-OA-knee.pdf
10. Rheumatology.org. (2018). Clinical Practice Guidelines Osteoarthritis. [online] Available at: https://www.rheumatology.org/Practice-Quality/Clinical-Support/Clinical-Practice-Guidelines/Osteoarthritis [Accessed 4 Dec. 2018].
11. สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี พ.ศ. 2557 (Thai & Eng Version) [อินเตอร์เน็ต]. Dop.go.th. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 1 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dop.go.th/th/know/2/58
12. Silverwood V, Blagojevic-Bucknall M, Jinks C, Jordan JL, Protheroe J, Jordan KP. Current evidence on risk factors for knee osteoarthritis in older adults: a systematic review and meta-analysis. Osteoarthritis Cartilage. 2015;23(4):507-15.
13. Hashikawa T, Osaki M, Ye Z, Tomita M, Abe Y,Honda S, et al. Factors associated with radiographic osteoarthritis of the knee among community dwelling Japanese women: the Hizen-Oshima Study. J Orthop Sci 2011; 16: 51-5.
14. Felson DT, Naimark A, Anderson J, Kazis L, Castelli W, Meenan RF. The prevalence of knee osteoarthritis in the elderly. The Framingham Osteoarthritis Study. Arthritis Rheum. 1987;30(8):914-8.
15. Fransen M, Bridgett L, March L, Hoy D, Penserga E, Brooks P. The epidemiology of osteoarthritis in Asia. Int J Rheum Dis. 2011;14(2):113-21.
16. Cho HJ, Chang CB, Kim KW, Park JH, Yoo JH, Koh IJ, et al. Gender and prevalence of knee osteoarthritis types in elderly Koreans. J Arthroplasty. 2011;26(7):994-9.