ความปกติใหม่ : ในทุกวิกฤตย่อมมีโอกาสอยู่เสมอ

Main Article Content

สายรัตน์ นกน้อย

บทคัดย่อ

การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (SARS-CoV2)  เป็นวิกฤตสำคัญส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนนับล้านคน1 นอกจากการเสียชีวิต ภาวะทุพพลภาพจากปัญหาแทรกซ้อนที่เพิ่มทวีแล้ว สถานการณ์การระบาดที่เกิดขึ้นยังส่งผลต่อวิถีชีวิตและสภาพจิตใจของประชาชนทั่วโลก  เกิดความเครียด ความวิตกกังวล โดดเดี่ยว สิ้นหวัง ซึมเศร้า ไปจนถึงการฆ่าตัวตาย ซึ่งพบรายงานการฆ่าตัวตายที่เป็นผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดนี้ในหลาย ๆ ประเทศ2 รวมทั้งประเทศไทย3  สถานการณ์การระบาดที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดมาตรการเข้มข้นเพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายของโรคนี้และมีผลผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในวงกว้าง  ที่สำคัญการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ได้สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียม    (Inequality) และความไม่เสมอภาคหรือการมีโอกาสที่ไม่เท่ากัน (Inequity) ทางสังคมและสุขภาพที่มีอยู่เดิมได้ขึ้นไปอีก4,5

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทบรรณาธิการ

References

เอกสารอ้างอิง
1. John Hopkins University. Coronavirus Resource Centre [Internet]. [Cited on 2020ม Oct 16]. Available from: https://coronavirus.jhu.edu/map.html
2. Sher L. The impact of the COVID-19 pandemic on suicide rates. QJM. 2020;113(10):707-712. doi:10.1093/qjmed/hcaa202
3. Bangkok Post. Jump in suicide cases linked to Covid-19 stress [Internet]. Published on 2020, Sep 10. [Cited on 2020 Oct 16]. Available from: https://www.bangkokpost.com/thailand/general/1983195/jump-in-suicide-cases-linked-to-covid-19-stress
4. Ku L, Brantley E. Widening Social and Health Inequalities During the COVID-19 Pandemic. JAMA Health Forum. Published online June 10, 2020. doi:10.1001/jamahealthforum.2020.0721
5. Bambra C, Riordan R, Ford J, Matthews F. The COVID-19 pandemic and health inequalities. J Epidemiol Community Health 2020; 74:964–968. doi:10.1136/jech-2020-214401